งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

VisualizerVisualizerVisualizerVisualizer VisualizerVisualizerVisualizerVisualizer นางสาวฐิติภา จีนหลง.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "VisualizerVisualizerVisualizerVisualizer VisualizerVisualizerVisualizerVisualizer นางสาวฐิติภา จีนหลง."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 VisualizerVisualizerVisualizerVisualizer VisualizerVisualizerVisualizerVisualizer นางสาวฐิติภา จีนหลง

2 VisualizerVisualizerVisualizerVisualizer

3 VisualizerVisualizer เราคงเคยได้ยินการเรียกชื่อเครื่องอะไรสัก อย่างที่อาจจะเรียกต่างกัน แต่ก็พูดในเรื่อง เดียวกัน ( หรือเปล่า ?) คงเคยได้ยิน Sony ตั้งชื่อ presentation stand ส่วน Panasonic ตั้งชื่อ Video Imager ส่วนบริษัทอื่น ๆ ใช้ชื่อว่า Visualizer Document Cameras ส่วนภาค ภาษาไทยก็เรียกกันสารพัดเช่นกัน เช่น เครื่อง ฉายภาพสามมิติ เครื่องวิชวลไลเซอร์ และแท่น นำเสนอภาพ เป็นต้น

4 เทคโนโลยีสำหรับ Visualizer หลัก ๆ มี 2 ประเภทคือ  Video Technology Video Technology  Progressive Scan Technology Progressive Scan Technology

5 Video Technology เป็นเทคโนโลยีแรกเริ่มของ visualizer และใน ปัจจุบันใช้ได้ทั้งระบบ PAL และหรือ NTSC ใช้ หลักการของกล้องวิดีโอจับภาพ สัญญาณออกที่ ได้จะเป็นรูปของสัญญาณวิดีโอ ทำให้มีข้อดีคือ ภาพที่เคลื่อนไหวไม่ว่าช้าหรือเร็ว กล้องประเภทนี้ สามารถแสดงผลภาพได้ดีเยี่ยม สีสันเหมือนจริง แต่มีข้อด้อยที่ถ้าใช้ตัวอักษรหรือข้อความจะแสดง ผลได้ไม่ดีนัก ยกเว้นจะใช้กล้องที่มีคุณภาพสูงซึ่ง ก็มีราคาแพงก็จะช่วยทำให้ภาพที่เป็นข้อความ ชัดเจนขึ้น อย่างไรก็ตาม visualizer ที่ใช้ เทคโนโลยีวิดีโอนี้ในปัจจุบันก็ยังมีผลิตอยู่ และมี ราคาไม่แพง กลับไปหน้าเมนู

6 Progressive Scan Technology เนื่องจาก digital projector รุ่นใหม่ ๆ ส่วนใหญ่ สามารถรับสัญญาณอินพุทที่เป็น digital ได้ จึงทำให้ สามารถให้รายละเอียดของภาพได้สูงกว่า video camera ซึ่งเทคโนโลยีแบบ video จะได้รายละเอียดของภาพ (resolution) หรือบางท่านเรียกว่าเส้นความคมชัด จะได้ อยู่ประมาณไม่เกิน 400 เส้นเท่านั้นแต่เทคโนโลยีของ progressive scan จะวัดรายละเอียดของภาพเป็นจำนวน pixel ถ้ามีจำนวนมากก็จะให้รายละเอียดได้มาก และ สัญญาณออกหรือ output ก็จะให้สัญญาณเป็นระดับตาม ความสามารถของเครื่องเช่น SVGA, XGA หรือ SXGA เป็นต้น (at 75 or 60 Hz), หรือบางเครื่องมี RGBHV (D- Sub and BNC) และ DVI outputs อีกด้วย รายละเอียด ของ pixel ขึ้นอยู่กับความสามารถของ CCD และจำนวน CCD และขนาดของ CCD อีกด้วยถ้ามีจำนวนมากยิ่งดี กลับไปหน้าเมนู

7 Progressive Scan Technology (continue) ปัญหาที่มักพบในเทคโนโลยีนี้ก็คือ ภาพเคลื่อนไหวจะขึ้นอยู่กับ scanning rate ต่อ วินาที ถ้ามีอัตราต่ำ เช่น 8 ภาพต่อวินาทีจะทำให้ ภาพที่เคลื่อนไหวเป็นภาพ strobe ดังนั้นถ้าต้อง เลือกเทคโนโลยีนี้ควรจะต้องเลือก scanning rate ที่ไม่น้อยกว่า 15 ภาพต่อวินาที ซึ่งจะมีอยู่ใน เครื่องที่มีราคาแพงเท่านั้น กลับไปหน้าเมนู

8 การเลือก Visualize  ถ้าเลือกเทคโนโลยี progressive scan ควรเลือก scanning rate สูงที่สุด ซึ่งจะกำหนดภาพเคลื่อนไหวว่าได้กี่ภาพต่อวินาที ควรเลือกให้ไม่น้อยกว่า 15 ภาพต่อวินาที  เลนส์ ควรมีอัตราการซูมมากที่สุดที่เป็น optical zoom เท่านั้น ส่วน digital zoom จะช่วยอะไรไม่ได้มากนัก ซึ่ง digital zoom เพียง 4 เท่าก็นับว่าเพียงพอแล้ว  Resolution จะต้องให้มากที่สุด ควรเป็นระดับ XGA ขึ้นไป  ช่องต่อสัญญาณออก ควรมี USB Outputs ด้วยเพื่อความ สะดวกในการใช้อุปกรณ์  ควรมีช่องต่อ อินพุตจากคอมพิวเตอร์ (Computer Input) เพื่อ เป็น Loop-through  มีหน่วยความจำภาพได้ด้วยยิ่งสะดวก จำนวนที่ Memory เพราะ สามารถ capture ภาพได้ด้วย  การแสดงตัวหนังสือควรมีความหลากหลายเช่นเปลี่ยนสีพื้นของ ตัวหนังสือได้ เช่นเป็นพื้นดำ พื้นน้ำเงินเป็นต้น

9 ขอบคุณค่ะ...


ดาวน์โหลด ppt VisualizerVisualizerVisualizerVisualizer VisualizerVisualizerVisualizerVisualizer นางสาวฐิติภา จีนหลง.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google