งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาระบบ หมอครอบครัวและ งานส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก จังหวัดนครราชสีมา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาระบบ หมอครอบครัวและ งานส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก จังหวัดนครราชสีมา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาระบบ หมอครอบครัวและ งานส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก จังหวัดนครราชสีมา
งานส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก จังหวัดนครราชสีมา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา

2 เครือข่ายระบบบริการสุขภาพ จังหวัดนครราชสีมา ระยะ 5 ปี
เครือข่ายระบบบริการสุขภาพ จังหวัดนครราชสีมา ระยะ 5 ปี

3 การแบ่ง CUP Split อำเภอเมืองนครราชสีมา
แผนที่อำเภอเมือง จ.นครราชสีมา CUP มะค่า (สสอ.เมือง) หนองไข่น้ำ โคกสูง CUP เทศบาล (อปท.) บ้านโพธิ์ CUP วัดบูรพ์ (สสจ.นม.) พุดซา จอหอ CUP ศรีษะละเลิง (สสอ.เมือง) ตลาด หนองกระทุ่ม พลกรัง หมื่นไวย บ้านเกาะ สี่มุม พะเนา CUP เอกชน มะเริง ในเมือง CUP หัวทะเล (รพ.มหาราช) บ้านใหม่ หัวทะเล หนองไผ่ล้อม หนองระเวียง CUP รัฐนอก สังกัด (รพ.ค่าย) หนองจะบก โพธิ์กลาง ปรุใหญ่ หนองบัวศาลา สุรนารี โคกกรวด ไชยมงคล ประชากร 686,353 คน

4 ตติยภูมิ ทุติยภูมิ ปฐมภูมิ
การพัฒนาบริการแพทย์ 10สาขาหลัก แกนหลัก รพ.มหาราช จุดเน้น ระบบบริการ ระบบRefer (10สาขา) ตติยภูมิ การพัฒนา Node แกนหลัก รพช. Node (สาขาหลัก) จุดเน้น ระบบบริการ ระบบRefer (สาขาหลัก) ทุติยภูมิ 3.การเพิ่มประสิทธิภาพการเงินการคลัง 1.ระบบ Refer 4.การพัฒนากำลังคน การพัฒนาหน่วยปฐมภูมิ แกนหลัก ศูนย์แพทย์/รพ.สต. แม่ข่าย จุดเน้น ดูแลกลุ่มอายุ 2. หมอใกล้บ้านใกล้ใจ 3.คัดกรอง/PP 4.นโยบายสำคัญ ปฐมภูมิ 2.ระบบข้อมูลข่าวสาร

5 ตติยภูมิ ทุติยภูมิ Node รพ.เทพรัตน์ นม. Node รพ.ปากช่อง Node รพ.พิมาย
รพ.โชคชัย Node รพ.บัวใหญ่ Node รพ.ด่านขุนทด

6 และการสนับสนุนสิ่งจำเป็น
กำลังคน และการสนับสนุนสิ่งจำเป็น ใน รพ.สต./ศสม. จังหวัดนครราชสีมา

7 การวิเคราะห์ส่วนขาดขาดบุคลากรตาม GIS
ปี ๒๕๕๕ วิชาชีพ จำนวนตาม GIS มีอยู่จริง ส่วนขาด ขาด % แพทย์ ๔๐๕ ๒๕๙ ๑๔๖ ๕๖.๓๗ ทันตแพทย์ ๒๔๐ ๑๑๑ ๑๒๙ ๕๓.๗๕ เภสัชกร ๑๔๔ ๙๖ ๔๐ พยาบาล ๒,๙๓๑ ๒,๒๓๕ ๖๙๖ ๒๓.๗๕ จพ.เภสัช ๑๖๐ ๘๐ ๓๓.๓๓ จพ.ทันตฯ ๓๑๒ ๕๓ ๑๖.๙๙ จพ.สธ+นวก.สธ+จบส. ๑,๘๐๔ ๑,๔๘๓ ๓๒๑ ๑๗.๗๙

8 การเสริมกำลังคนใน รพ.สต./ศสม.
หน่วยบริการ เป้าหมาย (แห่ง) พยาบาลวิชาชีพ ผ่าน การอบรม เวชปฏิบัติฯ ทันตา ภิบาล ผช.แพทย์แผนไทย ศสม. 3 รพ.สต. ขนาดใหญ่ 68 53 62 ขนาดกลาง 237 224 206 71 203 ขนาดเล็ก 44 36 26 - 31 รวม 352 331 303 127 299 รพ.สต. ขาดพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 21 แห่ง (CUP จัดทีมสหวิชาชีพหมุนเวียน) ยังไม่ผ่านการอบรมเวชปฏิบัติครอบครัว จำนวน 28 แห่ง

9 แนวทางการแก้ไขกำลังคน
1. สนับสนุนบุคลากรให้กับ รพ.สต.ขนาดใหญ่และเครือข่าย รพ.สต. 2. อบรมพยาบาลเวชปฏิบัติครอบครัว ปี 54 รพ.สต คน ปี 55 รพ.สต คน เป้าหมาย ปี 56 รพ.สต คน

10 การพัฒนาศักยภาพบุคลากร จ.นครราชสีมาที่มีอยู่
1. การอบรมวิทยากรระดับจังหวัด หลักสูตร นสค. (มี.ค.56) 2. การอบรมแพทย์ให้คำปรึกษา นสค.(เม.ย.56) 3. การอบรมทีมสหวิชาชีพด้านเวชศาสตร์ ครอบครัว(5 week end)

11 การพัฒนาสิ่งสนับสนุน ใน รพ.สต./ศสม.
1. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.1 Data Center 1.2 เครือข่าย Point to Point Network 2. พัฒนา Logistic Lap ได้แก่ Central Lab

12 การพัฒนาสิ่งสนับสนุน ใน รพ.สต./ศสม.(ต่อ)
3. สร้างระบบ CFOทุกระดับเพื่อป้องกันความเสี่ยง ด้านการเงินการคลัง ผลงาน ระดับ 1= 8 แห่ง ระดับ4 = 4 แห่ง ระดับ 2 = 3 แห่ง ระดับ5 = 1 แห่ง ระดับ 3 = 4 แห่ง ไม่มีระดับวิกฤติ 4. สนับสนุนยานพาหนะและอุปกรณ์สื่อสาร ได้แก่ : รถยนต์,จักรยานยนต์,โทรศัพท์มือถือ

13 ตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงาน ตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข

14 ความพร้อมในการดำเนินงาน
กลุ่ม ระบบ ผลลัพธ์ ปี 55 สตรี โดยใช้ FF - คัดกรองกลุ่มปกติ เสี่ยง ป่วย - จัดบริการตามเกณฑ์ และเชื่อมโยง ต่อเนื่อง - เสริมสร้างความเข้มแข็ง โดยจัดตั้ง ชมรม เช่น ผู้สูงอายุ ผู้พิการ - ประสานภาคีที่เกี่ยวข้อง เช่น อปท. กองทุน อสม.,พจม.ดำเนินการ ในส่วนที่เกี่ยวข้อง คัดกรองมะเร็งเต้านม ,570 คน คัดกรองมะเร็งปากมดลูก ,030 คน ผู้สูงอายุ คัดกรองผู้สูงอายุ (ADL) ,309 คน ผู้สูงอายุ ติดสังคม ,569 คน ผู้สูงอายุ ติดบ้าน ,062 คน ผู้สูงอายุ ติดเตียง ,678 คน ผู้พิการ พิการทางการมองเห็น ,593 คน พิการทางการได้ยิน ,406 คน พิการทางการเคลื่อนไหว , คน พิการทางจิตใจ , คน พิการทางสติปัญญา , คน พิการทางการเรียนรู้ คน

15 การดำเนินงานป้องกันและบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด

16 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โครงการ 1 อำเภอ 1 ค่าย
- เจ้าหน้าที่ รพ.สต. เป็นวิทยากรดำเนินการ (ทุกอำเภอ อำเภอละอย่างน้อย 1 ค่าย) - มีจำนวนผู้เข้าบำบัดในรูปแบบค่ายปรับเปลี่ยน พฤติกรรม จำนวน 8,974 ราย Company Logo

17 การแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด
ผลดำเนินงานในรอบปี 2555 ที่ผ่านมา เป้าหมาย 9,925 ราย ผ่านการบำบัดรักษาผู้เสพผู้ติด 14,780 คน

18 จำนวนผู้เสพและผู้ติดยาเสพติด จังหวัดนครราชสีมา
จำแนกตามระบบการบำบัดปีงบประมาณ 2555 ( 1 ตุลาคม 2554 – 30 กันยายน 2555) ระบบบังคับบำบัด เป้าหมาย 2,277 ราย ผลงาน 4,701 ราย (206.46%) 206.46% 131.03% เป้าหมายรวม 9,925 ราย ผลงาน 14,780 ราย (148.93%) ระบบสมัครใจ เป้าหมาย 6,948 ราย ผลงาน 9,104 ราย (131.03%) 139.29% ระบบต้องโทษ เป้าหมาย 700 ราย ผลงาน 975 ราย (139.29%)

19 ผลการดำเนินงานบำบัดผู้เสพและผู้ติดยาเสพติด จ.นครราชสีมา
จำแนกตามระบบการบำบัดปีงบประมาณ 2555 ( 1 ตุลาคม 2554 – 30 กันยายน 2555) ผลงาน เป้าหมาย เป้าหมายรวม 9,925 ราย ผลงาน 14,780 ราย (เกินเป้าหมาย %)

20 การลดคิว ลดเวลารอคอย

21 เสริมความเข้มแข็งให้ NODE รพช. ลดความแออัดในโรงพยาบาล
เน้นคลินิกโรคเรื้อรัง โดยการจัดระบบ การนัดหมาย /เยี่ยมบ้าน / การส่งต่อ ไป-กลับ ลดความแออัดในโรงพยาบาล ผู้ป่วย DM-HT ทั้งหมด 230,937 ราย รักษาที่ รพช ,562 ราย คิดเป็น 60% รักษาที่ รพ.สต ,375 ราย คิดเป็น 40%

22 ติดต่อหมอใกล้บ้านใกล้ใจ
ได้ทุกเวลา

23 แพทย์ที่ปรึกษา ใน รพ.สต./ศสม.
หน่วยบริการ เป้าหมาย (แห่ง) แพทย์ ให้คำปรึกษา ศสม. 3 รพ.สต.ขนาดใหญ่ 68 รพ.สต.ขนาดกลาง 237 รพ.สต.ขนาดเล็ก 44 รวม 352 @ แพทย์ให้คำปรึกษาครบทุกแห่ง โดยสื่อสารผ่านโทรศัพท์ /Internet @ การเชื่อมโยงข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยระหว่าง รพ.สต.และ รพ.แม่ข่าย โดยใช้ระบบ point to point

24 โครงการพัฒนาการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน ( HomeWard) เครือข่ายบริการที่ 9
สปสช.สนับสนุน 380,000 บาท

25 หลักสูตรการอบรม ฝึกการดูแลผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บปวดทรมาน
Family – Oriented Family system, family life cycle Family assessment tool Family meeting/conference Home visit/Home care/Home ward ฝึกการดูแลผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บปวดทรมาน ผู้ป่วยอัมพาต อัมพฤกษ์และ ผู้ป่วย ที่นอนติดเตียงจิตใจผู้ป่วย และ ญาติ

26 โครงการพัฒนาการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน ( HomeWard) เครือข่ายบริการที่ 9
จังหวัด จำนวน(กลุ่มเป้าหมาย) รวม รุ่นที่ 1 รุ่นที่ 2 นครราชสีมา 55 110 ชัยภูมิ 25 50 บุรีรัมย์ 45 90 สุรินทร์ 150 300 กำหนดอบรมประมาณต้นเดือน กันยายน 54 จำนวน 2 รุ่น รุ่นละ 2 วัน ณ โรงแรมสบาย อ.เมือง จ.นครราชสีมา 26

27 การดำเนินงานโรคไม่ติดต่อ

28 ผลการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ผู้ป่วยทั้งหมด ,937 ราย ผู้ป่วยเบาหวาน , ราย ผู้ป่วยเบาหวาน + ความดันโลหิตสูง ,202 ราย ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ,598 ราย

29 จำนวนผู้ป่วย DM ที่ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน
หาน

30 เครือข่ายระบบบริการสุขภาพ จังหวัดนครราชสีมา ระยะ 5 ปี
กิจกรรมเด่น เครือข่ายระบบบริการสุขภาพ จังหวัดนครราชสีมา ระยะ 5 ปี จัดระบบการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตาไปที่ โรงพยาบาลชุมชน Node ทั้ง 6 แห่ง

31 ความท้าทาย/ปัจจัยสู่ความสำเร็จ
1. เป็นการพัฒนา Service Plan ที่เชื่อมโยงทุก ระดับของจังหวัดนครราชสีมา 2. การมีส่วนร่วมของแพทย์และบุคลากร สาธารณสุข ในเครือข่ายปฐมภูมิ ภายใต้ DHS 3. การบริหารจัดการ CUP Split เขตเมือง (Node รพ.เทพรัตน์นครราชสีมา)

32 สวัสดีครับ


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาระบบ หมอครอบครัวและ งานส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก จังหวัดนครราชสีมา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google