งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาครูด้วยระบบ UTQ online

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาครูด้วยระบบ UTQ online"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาครูด้วยระบบ UTQ online
การบริหารงานบุคคล การพัฒนาครูด้วยระบบ UTQ online

2 ศึกษานิเทศก์ ๒ หลักสูตร ทั่วไป ๑๗ หลักสูตร
การพัฒนาครูด้วยระบบ UTQ Online ปี ๒๕๕๕ มี ๗๕ หลักสูตร ครู ๕๔ หลักสูตร ผู้บริหาร ๕๒ หลักสูตร ศึกษานิเทศก์ ๒ หลักสูตร ทั่วไป ๑๗ หลักสูตร

3 ผู้สมัครเข้ารับการอบรม
จำนวนผู้เข้ารับการอบรม UTQ Online ผู้สมัครเข้ารับการอบรม จำนวนคน ร้อยละ 1. ข้าราชการครู 336,492 87.50 2. ผู้บริหารการศึกษา 1,042 51.78 3. ผู้บริหารสถานศึกษา 27,818 70.252 4. ศึกษานิเทศก์ 2,537 65.81 ข้อมูล ณ วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2555

4 ผู้บริหารการศึกษา /ร้อยละ ผู้บริหารสถานศึกษา /ร้อยละ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่มีผู้รับการอบรม มากที่สุด 20 อันดับแรก สพป,สพม,สำนัก ข้าราชการครู/ร้อยละ ผู้บริหารการศึกษา /ร้อยละ ผู้บริหารสถานศึกษา /ร้อยละ ศึกษานิเทศก์ / ร้อยละ รวม / ร้อยละ 1. สพป.นนทบุรี เขต 1 928 / 1 / 12.50 49 / 77.78 5 / 23.81 983 / 2. สพป. นนทบุรี เขต 2 1,199 / 1 / 9.09 65 / 72.22 9 / 50.0 1,274 / 3. สพป. สมุทรปราการ เขต 2 1,302 / 4 / 80.00 92 / 79.31 11 / 68.75 1,409 / 4. สพป. ขอนแก่น เขต 5 2,603 / 8 / 80.00 283 / 98.61 20 / 11.11 2,914 / 5. สพป. สมุทรปราการ เขต 1 1,635 / 2 / 25.00 102 / 70.35 15 / 88.24 1,754 / 6. สพป. ชัยภูมิ เขต 1 2,489 / 12 / 285/100.35 19 / 76.00 2,805 / 7. สพป.แพร่ เขต 1 1,113 / 11 / 121 / 92.37 17 / 1,262 / 8. สพม. เขต 29 (อุบล) 3,869 / 4 / 192 / 85.33 9 / 60.00 4,074/ 9. สพป. สุราษฎร์ธานี เขต 1 1,448 / 7 / 53.85 125 / 83.89 9 / 52.94 1,589 / 10. สพป.ขอนแก่น เขต 2 1,708 / 13 / 212 / 97.70 21 / 95.46 1,954 / ข้อมูล ณ วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2555

5 ผู้บริหารการศึกษา /ร้อยละ ผู้บริหารสถานศึกษา /ร้อยละ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่มีผู้รับการอบรม มากที่สุด 20 อันดับแรก สพป,สพม,สำนัก ข้าราชการครู/ร้อยละ ผู้บริหารการศึกษา /ร้อยละ ผู้บริหารสถานศึกษา /ร้อยละ ศึกษานิเทศก์ / ร้อยละ รวม / ร้อยละ 11. สพป. อุดรธานี เขต 4 1,596 / 9 / 175 / 98.87 22 / 1,802 / 12. สพป. กาญจนบุรี เขต 3 1,021 / 3 / 75.00 78 / 78.79 13 / 1,115 / 13. สพป. กาญจนบุรี เขต 1 1,501 / 10 / 83.33 166 / 18 / 1,695 / 14. สพป. ภูเก็ต เขต 1 803 / 1 / 12.50 50 / 66.67 1 / 5.88 855 / 15. สพป. ขอนแก่น เขต 1 1,704 / 9 / 75.00 184 / 26 / 1,923 / 16. สพป. อุบลราชธานี เขต 3 1,968 / 6 / 46.15 223 / 88.85 17 / 89.47 2,214 / 17. สพป. ระยอง เขต 2 1,025 / 8 / 99 / 90.00 16 / 1,148 / 18. สพป. ชัยนาท เขต 1 1,701 / 13 / 189 / 95.39 21 / 91.30 1,921 / 19. สพป. สระแก้ว เขต 1 1,662 / 5 / 83.33 175 / 97.77 18 / 1,860 / 20. สพป. ลำพูน เขต 1 1,012/ 12 / 122 / 91.05 18 / 1,164 / ข้อมูล ณ วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2555

6 จำนวนหลักสูตรที่อบรมและผ่าน
รายชื่อข้าราชการครูที่ผ่านการอบรม UTQ มากที่สุด 10 อันดับแรก ลำดับ ชื่อ-สกุล โรงเรียน เขต,สำนัก จำนวนหลักสูตรที่อบรมและผ่าน ร้อยละ 1 นายสุชาติ ทวีแสง เหล่าหลวงประชานุสรณ์ สพม.เขต 27 48 64.00 2 นางน้ำอ้อย อิสภาโร กาญจนาภิเษกวิทยา อุทัยธานี สพม. เขต 42 3 นางสินีมาศ เหมือนทรัพย์ บ้านประชาสามัคคี สพป.นครสวรรค์ เขต 1 47 62.67 4 นายเรืองยศ เหมือนทรัพย์ อนุบาลชุมแสง 5 น.ส.วันทนีย์ ศรีสำอาง บ้านโนนยาง สพป.ยโสธร เขต 2 6 นายเชวง พันธุ์บ้าน วัดด่าน สพป.กรุงเทพมหานคร 46 61.33 7 นายศรศรี อาจวิชัย วัดมหาบุศย์ 8 นางวัลลภา เปลี่ยนเดชา วัดอุทัยธาราม 9 น.ส.รุ่งอรุณ จันทร์มณี ดิศกุล สพป.กาญจนบุรี เขต 1 10 นางลัดดา เสรีลัดดา บ้านกลอนโด ข้อมูล ณ วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2555

7 จำนวนหลักสูตรที่อบรมและผ่าน
รายชื่อผู้บริหารการศึกษาที่ผ่านการอบรม UTQ มากที่สุด 10 อันดับแรก ลำดับ ชื่อ-สกุล เขต,สำนัก จำนวนหลักสูตรที่อบรมและผ่าน ร้อยละ 1 นายกำพล อินชมฤทธิ์ รอง ผอ.สพป.ลพบุรี เขต 1 46 61.33 2 นายยงศักดิ์ เชาวน์วุฒิกุล รอง ผอ.สพป.ตรัง เขต 1 3 นายวิโชติ จุลมณี รอง ผอ.สพป.ขอนแด่น เขต 1 4 นายวิทยา ประวะโข รอง ผอ.สพป.อุดรธานี เขต 1 5 นายสุทธิ กล่ำรักษ์ สรอง ผอ.พป.กาญจนบุรี เขต 1 6 นายวิฑูรย์ เพชรประภัสสร รอง ผอ.สพป.สุราษฎษร์ธานี เขต 1 45 60.00 7 นางกัญญา ทาสระคู รอง ผอ.สพป.ร้อยเอ็ด เขต 2 39 52.00 8 นายคำรณ คูณแก้ว รอง ผอ.สพป.เพชรบูรณ์ เขต 2 38 50.67 9 นางจุรีรัตน์ คีรีรัตน์ 33 44.00 10 นายบรรเลง ส่งบุญธรรม รอง ผอ.สพป.ลำพูน เขต 2 29 38.67 ข้อมูล ณ วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2555

8 จำนวนหลักสูตรที่อบรมและผ่าน
รายชื่อผู้บริหารสถานศึกษาที่ผ่านการอบรม UTQ มากที่สุด 10 อันดับแรก ลำดับ ชื่อ-สกุล โรงเรียน เขต,สำนัก จำนวนหลักสูตรที่อบรมและผ่าน ร้อยละ 1 นางลิยดา สารทอง บ้านกระบาก สพป.มหาสารคาม เขต 3 48 64.00 2 นายนิวัติ มงคล บ้านวังสารภี สพป.กาญจนบุรี เขต 1 46 61.33 3 น.ส.เพยาว์ วงศาโรจน์ ล้านห้วยหวาย 4 นายมาโนช ภูคงกิ่ง ชุมชนดอนม่วงงาม สพป.กาฬสินธุ์ เขต 2 5 นายชิตเมธา ทาสสมบูรณ์ บ้านแดงใหญ่ สพป.ขอนแก่น เขต 1 6 นายสมชาย เล่ฆห์กัน บ้านชีกกค้อ สพป.ขอนแก่น เขต 2 7 นายแดนชัย คำมีภักดี บ้านทางพาดหนองแวงโอง 8 นายบุญมี เขาระกำ บ้านป่างิ้วหนองฮี 9 นายอาคม ขุมด้วง บ้านศิลานาโพธิ์ 10 นายสุข พร้อมพรั่ง บ้านหนองแวงไร่ ข้อมูล ณ วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2555

9 จำนวนหลักสูตรที่อบรมและผ่าน
รายชื่อศึกษานิเทศก์ที่ผ่านการอบรม UTQ มากที่สุด 10 อันดับแรก ลำดับ ชื่อ-สกุล เขต,สำนัก จำนวนหลักสูตรที่อบรมและผ่าน ร้อยละ 1 นางลิยดา สารทอง สพป.เชียงราย เขต 4 39 52.00 2 นายนิวัติ มงคล สพม. เขต 28 20 26.67 3 น.ส.เพยาว์ วงศาโรจน์ สสพป.เลย เขต 3 14 18.67 4 นายมาโนช ภูคงกิ่ง สพป.สมุทรปราการ เขต 1 12 16.00 5 นายชิตเมธา ทาสสมบูรณ์ สพป.ตรัง เขต 1 10 13.33 6 นายสมชาย เล่ฆห์กัน สพป.เพชรบูรณ์ เขต 3 7 นายแดนชัย คำมีภักดี สพป.ขอนแก่น เขต 1 8 10.67 นายบุญมี เขาระกำ สพป.พระนครศรีอยุธยา เขต 2 9.33 9 นายอาคม ขุมด้วง สพป.แม่ฮ่องสอน เขต 2 นายสุข พร้อมพรั่ง 8.00 ข้อมูล ณ วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2555

10 ๑. เพิ่มหลักสูตร ๔๔ หลักสูตร รวมเป็น ๑๑๙ หลักสูตร
การดำเนินการ ปี ๒๕๕๖ ๑. เพิ่มหลักสูตร ๔๔ หลักสูตร รวมเป็น ๑๑๙ หลักสูตร ๒. เตรียมการที่จะจัดให้บริการศูนย์สอบ ๓. พัฒนาระบบให้สามารถรองรับการใช้ บริการโดยไม่ติดขัด

11 การจัดสรรอัตราข้าราชการครูฯ
ในสถานศึกษา

12 การจัดสรรอัตราเกษียณอายุราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
จำนวน ๓,๘๙๓ อัตรา (อัตราที่ได้รับคืนจาก คปร. ๓,๙๑๓ อัตรา กันไว้ ๒๐ อัตรา) พิจารณาจัดสรรคืนให้ ดังนี้ ๑. คืนตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาทุกตำแหน่ง จำนวน ๘๕๕ อัตรา โดยให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา บริหารจัดการและ ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ คปร. กำหนด

13 การจัดสรรอัตราเกษียณอายุราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ (ต่อ)
๒. คืนตำแหน่งผู้สอนให้เท่าจำนวนนักศึกษาทุนรัฐบาลเพื่อ รองรับการบรรจุนักศึกษาทุน จำนวน ๒,๐๖๐ อัตรา (โครงการครูพันธุ์ใหม่ ๑,๕๑๙ อัตรา, โครงการ สควค. ๕๔๑ อัตรา) ๓. จัดสรรให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ที่มีความขาด อัตรากำลังครูในภาพรวม ตามสัดส่วนร้อยละของความขาด จำนวน ๙๗๘ อัตรา

14 จำนวน ๑,๘๖๓ อัตรา พิจารณาจัดสรรให้ ดังนี้
การจัดสรรอัตราเกษียณอายุราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ ( ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ รอบสอง) จำนวน ๑,๘๖๓ อัตรา พิจารณาจัดสรรให้ ดังนี้ จัดสรรให้สถานศึกษารายโรงที่ได้รับผลกระทบจากโครงการครูคืนถิ่นที่มีความขาดครู ร้อยละ ๓๐ ขึ้นไป จำนวน ๖๒๖ อัตรา และสถานศึกษาที่ได้รับผลกระทบเป็นพิเศษกรณีมีผลต่างการย้ายออกมาก จำนวน ๙๗ อัตรา รวมจำนวน ๗๒๓ อัตรา

15 ๓. จัดสรรให้เฉพาะสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่มีความขาด
การจัดสรรอัตราเกษียณอายุราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ ( ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ รอบสอง) (ต่อ) ๒. จัดสรรให้ทุกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จำนวน ๓ อัตรา เพื่อใช้บริหารจัดการตามความสำคัญ จำเป็น รวมจำนวน ๖๗๕ อัตรา ๓. จัดสรรให้เฉพาะสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่มีความขาด อัตรากำลังข้าราชการครูในภาพรวม ตามสัดส่วนความขาด เพื่อใช้แก้ปัญหาความขาดแคลนครู และมีผลกระทบจาก โครงการครูคืนถิ่น รวมจำนวน ๔๖๕ อัตรา

16 การจัดสรรอัตราเกษียณอายุราชการ ปีงบประมาณ พ. ศ
การจัดสรรอัตราเกษียณอายุราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ ( ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ รอบสอง) (ต่อ) ทั้งนี้ อัตราที่ได้รับจัดสรรคืน ที่ไม่มีเงื่อนไขคืนตำแหน่ง ผู้บริหารและรองรับการบรรจุนักศึกษาทุน ให้สงวนอัตราว่างจาก ผลการเกษียณอายุที่ได้รับจัดสรรคืนในครั้งในไว้ ร้อยละ ๒๕ เพื่อ ดำเนินการตามหนังสือ ก.ค.ศ. ที่ ศธ ๐๒๐๖.๖/ว ๑๒ ลงวันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๕๕ สำหรับเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ ๕ จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ให้สงวนอัตราว่างจากผลการเกษียณอายุที่ได้รับ จัดสรรคืนในครั้งนี้ไว้ ร้อยละ ๕๐ เพื่อดำเนินการตามหนังสือ ก.ค.ศ. ที่ ศธ ๐๒๐๖.๖/ว ๑๓ ลงวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๕๕ (จำนวน ๒,๘๔๑ อัตรา)

17 การจัดสรรอัตราเกษียณอายุราชการ ปีงบประมาณ พ. ศ
การจัดสรรอัตราเกษียณอายุราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ ( ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ รอบสอง) (ต่อ) เรื่องการดำเนินการคัดเลือกครูอัตราจ้างฯ ดังกล่าว อยู่ระหว่าง การวางแผนกำหนดปฏิทินขั้นตอนการดำเนินงาน (การตรวจ คุณสมบัติ การออกข้อสอบ และจัดส่งข้อสอบให้ สพท. ดำเนินการ สอบ) ซึ่งจะแจ้งให้ สพท. ได้ทราบในลำดับต่อไป

18 การพัฒนาวิทยฐานะของข้าราชการครูฯ

19 ยึดหลัก : การประเมินตามสภาพจริง : เน้นประเมินอนาคตมากกว่าอดีต
การพัฒนาหลักเกณฑ์การปรับเลื่อนวิทยฐานะ ยึดหลัก : การประเมินตามสภาพจริง : เน้นประเมินอนาคตมากกว่าอดีต ทดสอบสมรรถนะ : ประเมินด้วยข้อตกลง : เน้นคุณภาพผู้เรียน P4 TPK MODEL

20 การเสนอหลักเกณฑ์และวิธีการ เลื่อนวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
สายงานบริหารการศึกษา และบริหารสถานศึกษา การประเมินวิทยฐานะด้วยข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement) สายงานครู และสานงานนิเทศการศึกษา การประเมินวิทยฐานะด้วยการประเมินสมรรถนะ (TPK MODEL)

21 การประเมินโดยใช้กระบวนการ P4 ประกอบด้วย
 ประเมินสาระสำคัญและความเป็นไปได้ แล้วจัดทำข้อตกลงการปฏิบัติงาน ไปสู่การปฏิบัติ (Performance Agreement)  ประเมินก่อนการปฏิบัติงาน (Pre-assessment)  ประเมินระหว่างการปฏิบัติงาน (Performing)  ประเมินหลังการปฏิบัติงาน (Post-assessment)

22 การประเมินด้วยการประเมินสมรรถนะ TPK MODEL ประเมิน ๒ ด้าน คือ
ด้านที่ ๑ ทดสอบสมรรถนะ  ด้านความรู้และความสามารถเชิงทฤษฎี (Theoritical Knowledge : TK)  ด้านประสบการณ์วิชาชีพ และการจัดการเรียนการสอน / การนิเทศการศึกษา (Pedagogical Knowledge : PK)

23 ผู้ขอต้องผ่านในแต่ละระดับ ดังนี้
การประเมินด้วยการประเมินสมรรถนะ TPK MODEL (ต่อ) ผู้ขอต้องผ่านในแต่ละระดับ ดังนี้ วิทยฐานะ อยู่ในระดับ ชำนาญการ Beginning ชำนาญการพิเศษ Intermediate เชี่ยวชาญ Advance เชี่ยวชาญพิเศษ Professional

24 ด้านที่ ๒ ผลการปฏิบัติงานที่ประสบผลสำเร็จ
การประเมินด้วยการประเมินสมรรถนะ TPK MODEL (ต่อ) ด้านที่ ๒ ผลการปฏิบัติงานที่ประสบผลสำเร็จ  ส่วนที่ ๑ ผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน @ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET, NT, LAS) @ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ @ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน

25 ด้านที่ ๒ ผลการปฏิบัติงานที่ประสบผลสำเร็จ (ต่อ)
การประเมินด้วยการประเมินสมรรถนะ TPK MODEL (ต่อ) ด้านที่ ๒ ผลการปฏิบัติงานที่ประสบผลสำเร็จ (ต่อ)  ส่วนที่ ๒ รายงานผลการปฏิบัติงานการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน @ จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในลักษณะที่เป็นสาระนิพนธ์ ไม่เกิน ๒๐ หน้า

26 นโยบายด้านการบริหารงานบุคคล

27 @ สพท. ควรมีแผนในการส่งเสริมให้ครูและผู้บริหารพัฒนา
นโยบายด้านการบริหารงานบุคคล ๑. การส่งเสริมให้ครูพัฒนาผลงานเพื่อการเลื่อนวิทยฐานะอย่างเป็นระบบ @ สพท. ควรมีแผนในการส่งเสริมให้ครูและผู้บริหารพัฒนา ผลงานอย่างเป็นระบบ @ สพฐ. จะจัดอบรม ผอ.กลุ่มบริหารงานบุคคลเพื่อวางแผน พัฒนาครู ผู้บริหาร และศึกษานิเทศก์ในการจัดทำผลงาน อย่างเป็นระบบ ๒. นโยบายความโปร่งใสเรื่องการบริหารงานบุคคล

28 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาครูด้วยระบบ UTQ online

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google