งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การตรวจสถานที่ผลิตอาหารตามเกณฑ์ GMPและการเก็บตัวอย่างส่งตรวจวิเคราะห์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การตรวจสถานที่ผลิตอาหารตามเกณฑ์ GMPและการเก็บตัวอย่างส่งตรวจวิเคราะห์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การตรวจสถานที่ผลิตอาหารตามเกณฑ์ GMPและการเก็บตัวอย่างส่งตรวจวิเคราะห์

2 พนักงานเจ้าหน้าที่ ตามพรบ.อาหาร พ.ศ. 2522
เภสัชกร โรงพยาบาลของรัฐ สาธารณสุขอำเภอ นักวิชาการสาธารณสุข พยาบาลวิชาชีพ ที่ปฏิบัติงาน ในสำนักงานสาธารณสุขอำเภอและสถานีอนามัย เจ้าหน้าที่บริหารงานสาธารณสุข พยาบาลเทคนิค เจ้าพนักงานเภสัชกรรม เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน ตั้งแต่ระดับ4 ขึ้นไป ที่ปฏิบัติงานในสำนักงาน สาธารณสุขอำเภอ และสถานีอนามัย

3 การตรวจสถานที่ผลิตอาหาร ตามเกณฑ์ GMP

4 ผลการดำเนินการตรวจ GMP ปี 2555
จำนวนที่ตรวจ ผ่าน GMP ไม่ผ่าน GMP 89 79 (88.76%) 10 (11.24%)

5 ผลการดำเนินการ ปี 2555 ใช้แบบตรวจ GMP ไม่ถูกกับประเภทของสถานที่ผลิตอาหาร ผู้ลงคะแนนหรือแก้ไขคะแนนในแบบตรวจ GMP ไม่ได้เป็น พนักงานเจ้าหน้าที่ตามพรบ.อาหาร พ.ศ. 2522 การลงรายละเอียดข้อมูลในแบบตรวจ GMP หัวข้อที่ให้ คะแนน “ปรับปรุง” ไม่ได้ถ่ายรูปแนบประกอบการส่งผลการ ตรวจให้ สสจ. หัวข้อที่ต้องปรับปรุงหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ให้คำแนะนำ ผู้ประกอบการ ไม่ได้ระบุรายละเอียดในช่อง “หมายเหตุ”

6 การดำเนินการ ปี 2556 ขั้นตอนการดำเนินการของอำเภอ
พนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการตรวจสอบสถานที่ ไม่พบข้อบกพร่อง สรุปผลการตรวจสอบให้ผู้ประกอบการทราบ พบข้อบกพร่อง สรุปผลการตรวจสอบให้ผู้ประกอบการทราบและแจ้งแก้ไขข้อบกพร่อง ***พร้อมทำหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ***

7 การดำเนินการ ปี 2556 แบบฟอร์มที่ใช้ในการตรวจ
1. บันทึกการตรวจสถานที่ผลิตอาหาร -- ตส.1(50) ใช้ตรวจสถานที่ผลิตอาหารที่กำหนดให้ใช้เกณฑ์ GMP เช่น นมUHT น้ำแข็ง ลูกชิ้น แหนม ไอศกรีม ขนมปัง ฯลฯ 2. บันทึกการตรวจสถานที่ผลิตน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุ ที่ปิดสนิท –- ตส.3(50) 3. บันทึกการตรวจสถานที่ผลิตอาหารแปรรูปในภาชนะ บรรจุพร้อมจำหน่าย– ตส.9(50) ใช้ตรวจสถานที่ผลิต อาหารที่กำหนดให้ใช้เกณฑ์ Primary GMP

8 การดำเนินการ ปี 2556 หากมีการแก้ไขคะแนนในแบบตรวจ GMP ต้องให้พนักงาน เจ้าหน้าที่ตามพรบ.อาหาร พ.ศ เป็นผู้แก้ไข โดยให้ ขีดฆ่า 1 เส้น แล้วเซ็นชื่อกำกับ การลงรายละเอียดข้อมูลในแบบตรวจ GMP หัวข้อที่ให้ คะแนน “ปรับปรุง” ให้ “ถ่ายรูป”แนบประกอบการส่งผล การตรวจให้ สสจ. หัวข้อที่ต้องปรับปรุงหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ให้คำแนะนำ ผู้ประกอบการ ให้ระบุรายละเอียดในช่อง “หมายเหตุ” ด้วย

9 การดำเนินการ ปี 2556 รายละเอียดที่ต้องลงข้อมูลในแบบตรวจ เช่น
รายละเอียดที่ต้องลงข้อมูลในแบบตรวจ เช่น แหล่งน้ำดิบ (น้ำบ่อ , น้ำบาดาล , น้ำประปา) เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวัดค่า pH ให้ระบุด้วยว่าผู้ประกอบการมีชุดทดสอบชนิดใดบ้าง และต้องตรวจสอบว่าชุดทดสอบที่มีหมดอายุหรือไม่

10 การดำเนินการ ปี 2556 กรณีพบความผิดซึ่งหน้าหรือความผิดที่เป็น Major Defect เช่น เปิดประตูห้องบรรจุขณะทำการผลิต/ใช้สายยาง กรอกน้ำ ให้ถ่ายรูปและทำบันทึกคำให้การประกอบการ ส่งผลตรวจให้สสจ.ด้วย

11 เครื่องมือที่ใช้ตรวจ
การดำเนินการ ปี 2556 รายละเอียดที่ให้ลงเพิ่มเติม น้ำดิบ product เครื่องมือที่ใช้ตรวจ Cl pH

12 การดำเนินการ ปี 2556 การตรวจ Primary GMP ปี (ยกระดับสถานที่ผลิต อาหารตามเกณฑ์ GHP เดิม) สสจ.ร่วมออกตรวจกับ จนท.อำเภอ

13 การเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อ ส่งตรวจวิเคราะห์
การเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อ ส่งตรวจวิเคราะห์

14 ผลการดำเนินการตรวจ GMP ปี 2555
ประเภท เป้าหมาย (ตย.) ส่งตรวจ(ตย.) ผลการตรวจวิเคราะห์ (ตย.) รายละเอียด ผ่าน ไม่ผ่าน 1.น้ำบริโภคฯ 80 77 37 40 - pH 15 - pH+MPN 6 - pH+MPN+Salmo. gr.c 1 - MPN 16 - MPN+E.coli 2 2.น้ำแข็ง 15 9 4 5 - pH 5 3.นม 12 11 7 ไขมันต่ำกว่าเกณฑ์ 3 - เนื้อนมไม่รวมไขมัน ต่ำกว่าเกณฑ์ 3 - พบแบคทีเรีย 1

15 ผลการดำเนินการตรวจ GMP ปี 2555
ประเภท เป้าหมาย (ตย.) ส่งตรวจ(ตย.) ผลการตรวจวิเคราะห์ (ตย.) รายละเอียด ผ่าน ไม่ผ่าน 4.เส้นก๋วยเตี๋ยว 4 5.ผลิตภัณฑ์ จากเนื้อสัตว์ 5.1 แหนม 2 1 - S. aureus 1 5.2 หมูยอ - C. perfringens มากกว่าเกณฑ์ 1 6.ผักกาดหวาน - ยีสต์มากกว่าเกณฑ์ 1 7.น้ำปลา 3 - ไอโอดีนมากกว่าเกณฑ์ 2 รวม 137 109 52 (47.71%) 57 (52.77%)

16 ผลการดำเนินการ ปี 2555 การเก็บตัวอย่างยังไม่ถูกต้อง
เก็บตัวอย่างที่ใกล้หมดอายุ การแก้ไขข้อมูลในแบบเก็บตัวอย่างต้องให้พนักงานเจ้าหน้าที่ ตามพรบ.อาหาร พ.ศ เป็นผู้แก้ไข โดยให้ขีดฆ่า 1 เส้น แล้วเซ็นชื่อกำกับ หากมีการแก้ไขข้อมูลในแบบเก็บตัวอย่างต้องให้พนักงาน เจ้าหน้าที่ตามพรบ.อาหาร พ.ศ เป็นผู้แก้ไข โดยให้ขีด ฆ่า 1 เส้น แล้วเซ็นชื่อกำกับ

17 ตัวอย่าง

18 ปฏิทินการดำเนินการ ปี 2556
กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ ผู้ดำเนินการ ธ.ค. 55 ม.ค. 56 ก.พ. 56 มี.ค. 56 เม.ย.56 พ.ค.56 มิ.ย.56 ก.ค.56 ส.ค.56 1. อบรมพนักงานเจ้าหน้าที่ 2. อบรมผู้ประกอบการ 3. ตรวจสถานที่ผลิตอาหารตามเกณฑ์ GMP สสจ.และจนท.อำเภอ 4. ตรวจสถานที่ผลิตอาหารตามเกณฑ์ Primary GMP 5. เก็บตัวอย่างอาหารส่งตรวจวิเคราะห์ รอบ 1 รอบ 2


ดาวน์โหลด ppt การตรวจสถานที่ผลิตอาหารตามเกณฑ์ GMPและการเก็บตัวอย่างส่งตรวจวิเคราะห์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google