งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

 อุตสาหกรรมไฟฟ้า  อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: " อุตสาหกรรมไฟฟ้า  อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง จากการจัดอาชีวศึกษา
 อุตสาหกรรมไฟฟ้า  อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์  อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม  อุตสาหกรรมเครื่องจักรกล อุตสาหกรรม เป้าหมาย สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ ผู้ใช้ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ  ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ  ศูนย์วิทยุชุมชน  อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน  ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน  สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น  Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน  ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน)  ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ  การบริหารจัดการกำลังคน  เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

2 จังหวัดนนทบุรี สถานศึกษา ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ข้อมูลพื้นฐาน
สังกัด สพฐ แห่ง (สปช.141 แห่ง และสศ. 22 แห่ง) สังกัด เอกชน แห่ง สังกัด กศน แห่ง สังกัด อุดมศึกษา แห่ง สังกัด สอศ แห่ง คือ วก.ไทรน้อย ที่ตั้งที่เป็นโอกาส เป็นจังหวัดปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ทิศตะวันออกและทิศใต้ ติดกับกรุงเทพมหานคร ทิศเหนือมีเขตติดต่อกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน 82,141 บาท ต่อปี (อันดับ 6 ของภาค อันดับ 22 ของประเทศ) ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากการผลิต อุตสาหกรรม มีมูลค่าการผลิต 34.53% รองลงมา การขายส่ง การขายปลีก 12.42% สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด ทุเรียนสวนนนท์ฯ เครื่องปั้นดินเผา ประชากร จำนวนประชากร 972,280 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ มีจำนวน 60,530 คน หรือ 9.13% จำนวนผู้ว่างงาน 6,940 คน เป็นชาย 3,318 คน เป็นหญิง 3,622 คน อัตราการว่างงาน 0.6% ประชาชนประกอบอาชีพด้านพนักงานบริการและพนักงานร้านค้าและตลาดสูงที่สุด จำนวน 136,044 คน หรือ19.18% ลำดับรองลงมาผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง 99,869 คน หรือ 14.08% ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ 1) ไม้มงคล ) ตัดเย็บเสื้อผ้า ) ซ่อมบำรุงเครื่องปรับอากาศ 4) ซ่อมจักรยานยนต์ 5) ซ่อมคอมพิวเตอร์ 6) วุ้นมะพร้าวน้ำหอม 7) น้ำเต้าหู้ ปาท่องโก๋ 8) น้ำยาซักผ้า ) น้ำยาล้างจาน 10) น้ำยาปรับผ้านุ่ม (ที่มา อศจ. นนทบุรี) ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 366,621 คน หรือ 51.7% ลำดับรองลงมา ลูกจ้างรัฐบาล 132,892 คน หรือ 18.74% ทำงานส่วนตัว 123,160 คน หรือ 17.37% แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 5,879 คน หรือ 1.13% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 308,472 คน หรือ 59.16% เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 40,428 คน หรือ 7.75% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะและผลิตภัณฑ์ มีสถานประกอบการ 355 แห่ง มีการจ้างงาน 72,628 คน รองลงมา อุตสาหกรรมสิ่งทอ และเครื่องนุ่งห่ม มีสถานประกอบการ 92 แห่ง มีการจ้างงาน 36,113 คน ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

3 จังหวัดปทุมธานี สถานศึกษา ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ข้อมูลพื้นฐาน
สังกัด สพฐ แห่ง (สปช.176 แห่ง และสศ. 24 แห่ง) สังกัด เอกชน แห่ง สังกัด กศน แห่ง สังกัด อุดมศึกษา แห่ง สังกัด สอศ แห่ง 1. วท.ปทุมธานี 2. วท.ธัญบุรี 3. ศูนย์ฝึกอบรมวิศวกรรมเกษตร ที่ตั้งที่เป็นโอกาส เป็นจังหวัดปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ทิศใต้มีเขตติดต่อกับกรุงเทพมหานคร ทิศเหนือและทิศตะวันตกมีเขตติดต่อกับพระ นครศรีอยุธยา สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน 223,875 บาท ต่อปี (อันดับ 4 ของภาค อันดับ 8 ของประเทศ) ผลผลิตที่สร้างรายได้สูงที่สุด คือ การผลิต อุตสาหกรรม มีมูลค่าการผลิต 63.46% พืชเศรษฐกิจสำคัญของจังหวัด ข้าว ประชากร จำนวนประชากร 815,402 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ มีจำนวนสูงที่สุด จำนวน 54,499 คน หรือ 9.72% จำนวนผู้ว่างงาน 11,150 คน เป็นชาย 6,754 คน เป็นหญิง 4,396 คน อัตราการว่างงาน 1.5% ประชาชนประกอบอาชีพด้านผู้ปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักร และผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบสูงที่สุด 113,625 คน หรือ 25.77% ลำดับรองลงมาคือ พนักงานบริการและพนักงานร้านค้าและตลาด 76,474 คน หรือ 17.34% ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ 1) โอ่งผ้าไหม ) ทำผ้ามัดย้อม ผ้าบาติก 3) ทำขนมไทย 4) ทำเครื่องดื่มจากธัญพืช ) ทำดอกไม้ประดิษฐ์ ) ทำน้ำยาล้างจาน 7) ทำพรมเช็ดเท้า ) ปลูกพืชไร้ดิน ) พืชสวนครัว 10) การเพาะเห็ด (ที่มา อศจ.ปทุมธานี) ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 277,534 คน หรือ 62.94% ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว76,937 คน หรือ 17.45% แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 2,092 คน หรือ 0.47% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา242,102 คน หรือ 54.91% เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 20,281 คน หรือ 4.60% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมไฟฟ้า มีสถานประกอบการ 148 แห่ง มีการจ้างงาน 78,159 คน ลำดับรองลงมาคือ อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์ มีสถานประกอบการ 575แห่ง มีการจ้างงาน 32,192 คน ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

4 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานศึกษา สังกัด สพฐ แห่ง (สปช.390 แห่ง และสศ.30 แห่ง) สังกัด เอกชน แห่ง สังกัด กศน แห่ง สังกัด สกอ แห่ง สังกัด สอศ แห่ง 1. วท.พระนครศรีอยุธยา วทอ.พระนครศรีอยุธยา 3. วท.อุตสาหกรรมยานยนต์ วอศ.พระนครศรีอยุธยา 5. วษท.ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร 6. วช.พระนครศรีอยุธยา 7. วก.เสนา วก.มหาราช ที่ตั้งที่เป็นโอกาส เป็นเมืองหลวงเก่าแก่ เป็นราชธานีของไทย ทีมีอายุยืนยาวที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติไทย ได้รับจัดตั้งเป็นอุทยานประวัติศาสตร์ไว้ใน บัญชีมรดกโลก เป็นที่ตั้งนิคมอุตสาหกรรม 3 แห่ง 1. นิคมฯบ้านหว้า 2.นิคมฯบางปะอิน 3. นิคมฯสหรัตนนคร สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน 392,232 บาท ต่อปี (อันดับ 1 ของภาค อันดับ 3 ประเทศไทย) ผลผลิตที่สร้างรายได้สูงที่สุด คือ การผลิต อุตสาหกรรม มีมูลค่าการผลิต % สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด เรือนไทย (ไม้สัก) หัตถกรรมจักสาน งอบ ปลาทะเพียน ประชากร จำนวนประชากร 746,919 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ มีจำนวน 49,714 คน หรือ 10.12% จำนวนผู้ว่างงาน 8,198 คน เป็นชาย 5,417 คน เป็นหญิง 2,780 คน อัตราการว่างงาน 2.13 % ประชาชนประกอบอาชีพ ผู้ปฏิบัติงานโรงงานและเครื่องจักรและผู้ปฏิบัติการด้านการประกอบสูงที่สุด จำนวน 97,880 คน หรือ 26.04% ลำดับรองลงมาคือพนักงานบริการและพนักงานร้านค้า และตลาด 61,365 คน หรือ 16.33% ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ ยังไม่ได้รับข้อมูลจาก อศจ. ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 208,547คน หรือ % ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 84,760 คน หรือ 22.55% แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 3,142 คน หรือ 0.84% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 245,879 คน หรือ 65.42% เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 20,073 คน หรือ 5.34% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมไฟฟ้า มีสถานประกอบการ 128 แห่ง มีการจ้างงาน 51,410 คน ลำดับรองลงมาคือ อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์ มีสถานประกอบการ รวม 277 แห่ง มีการจ้างงาน 28,732 คน และเครื่องจักรกล มีสถานประกอบการ 135 แห่งมีการจ้างงาน 23,847 คน ตามลำดับ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ

5 จังหวัดอ่างทอง สถานศึกษา ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ข้อมูลพื้นฐาน
สังกัด สพฐ แห่ง (สปช. 157 แห่ง และ สศ. 15 แห่ง) สังกัด เอกชน แห่ง สังกัด กศน แห่ง สังกัด สกอ แห่ง สังกัด สอศ แห่ง 1. วท.อ่างทอง วก.วิเศษชัยชาญ วก.โพธิ์ทอง ที่ตั้งที่เป็นโอกาส ทิศตะวันออกและทิศใต้มีเขตติดต่อกับ พระนครศรีอยุธยา ทรัพยากรดินเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ และมีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การทำการ เกษตร สภาพเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยต่อคน 61,063 บาท ต่อปี (อันดับ ที่ 5 ของภาคและอันดับที่ 36 ของประเทศ ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับ จากสาขาการ ขายส่งและการขายปลีก มีมูลค่าการผลิต 24.25% สาขาการผลิตอุตสาหกรรม % ภาคเกษตร 15.66% สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด ผลิตภัณฑ์หัตถกรรม จักสานจากไม้ไผ่ และจาก ผักตบชวา ประชากร จำนวนประชากร 283,778 คน (พ.ศ.2549) สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน ข้อมูลพื้นฐาน จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ มีจำนวน 18,781 คน หรือ 10.05% จำนวนผู้ว่างงาน 3,130 คน เป็นชาย 2,138 คน เป็นหญิง 992 คน อัตราการว่างงาน 1.10% ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด จำนวน 38,085 คน หรือ 24.67% ลำดับรองลงมาคือผู้ปฏิบัติงานโรงงาน และเครื่องจักร29,844 คน หรือ 19.34% ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ 1) จักสาน (หวาย ไม้ไผ่) ) ดอกไม้ประดิษฐ์จากกระดาษสา 3) แปรรูปอาหาร (น้ำพริกเผา ข้าวตัง การทำข้าวกล้อง) 4) อุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผา ) อุตสาหกรรมในครัวเรือน (เย็บผ้า ทอผ้า) 6) การทำเซรามิค ) การทำตุ๊กตาจากดินปั้น 8) การหมักปุ๋ยชีวภาพแทนอินทรีย์ 9) การทำสิ่งประดิษฐ์จากของเหลือใช้ 10) การปลูกผักปลอดสารพิษ (ที่มาอศจ.อ่างทอง) ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 68,196 คน หรือ 44.2% ลำดับรอง ลงมาทำงานส่วนตัว 41,966 คน หรือ 27.2% แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 2,005 คน หรือ 1.3 % โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น- ต่ำกว่าประถมศึกษา 109,695 คน หรือ 71.% เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 6,894 คน หรือ 4.5% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมเคมี ปิโตรเคมี และผลิตภัณฑ์ มีสถานประกอบการ 6 แห่ง มีการจ้างงาน 1,027 คน รองลงมาอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 37 แห่ง มีการจ้างงาน 965 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ


ดาวน์โหลด ppt  อุตสาหกรรมไฟฟ้า  อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google