งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บริหารจัดการหนี้สาธารณะ Liabilities Management)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บริหารจัดการหนี้สาธารณะ Liabilities Management)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 บริหารจัดการหนี้สาธารณะ Liabilities Management)
ภารกิจหลัก 3 ด้าน 1 2 3 บริหารจัดการหนี้สาธารณะ และภาระผูกพัน (Public Debt and Liabilities Management) ระดมทุนให้ภาครัฐ (Fund Mobilizing) พัฒนาตลาดตราสารหนี้ ในประเทศ (Domestic Debt Market Development) 3 Core Missions 2

3 External Forces P ความจำเป็นในการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อส่งเสริม ความสามารถในการแข่งขันและการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยืน D นโยบายการลดการก่อหนี้สาธารณะ / นโยบายงบประมาณสมดุล / การลงทุนใน Mega Projects ที่เพิ่มขึ้น M การระดมทุนโดยวิธีการใหม่ ๆ ทำให้ต้นทุนการระดมเงินและ ภาระผูกพันในอนาคตเพิ่มขึ้น O การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ไทยให้เป็นแหล่งระดมทุนในระดับภูมิภาค 3

4 Internal Forces P ความจำเป็นต้องสร้างระบบการบริหารความเสี่ยง สำหรับ บริหารหนี้และภาระผูกพันในอนาคต D ความจำเป็นต้องสร้างระบบกำกับ ติดตาม และประเมินผล การใช้จ่ายเงินกู้ของภาครัฐ M ความจำเป็นในการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศให้แข็งแกร่ง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการระดมเงินและเป็นทางเลือกในการลงทุน O ปรับระบบบริหารจัดการ ประสิทธิภาพ ความทันสมัย ความโปร่งใส ในการทำงาน 4

5 ยุทธศาสตร์ กค. กลยุทธ์ของ สบน.
Core Business กลยุทธ์ของ สบน. บริหารจัดการ หนี้สาธารณะ และภาระผูกพัน ความยั่งยืนทางการคลัง การบริหารหนี้สาธารณะในเชิงรุก การพัฒนาความแข็งแกร่ง ของระบบการเงินที่ยั่งยืน พัฒนาตลาดตราสารหนี้ให้เป็น แหล่งระดมทุนในระดับภูมิภาค พัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมที่ยั่งยืน เป็น CFO ในการระดมทุนสำหรับ โครงการลงทุนภาครัฐ ระดมทุนให้ภาครัฐ การปรับระบบบริหาร จัดการ ประสิทธิภาพ ความทันสมัย และความโปร่งใส Customer-based Organization เสริมสร้างความแข็งแกร่งของ Supporting Functions (IT, HR, PR) 5

6 การบริหารหนี้สาธารณะในเชิงรุก
กลยุทธ์ของ สบน. KPI การบริหารหนี้สาธารณะในเชิงรุก ลดหนี้ต่างประเทศ - Prepay 17,000 ล้านบาท - Refinance 20,000 ล้านบาท - กู้เงินบาททดแทน 6,500 ล้านบาท - ต้นทุนต่ำ - กรอบความเสี่ยงที่เหมาะสม - ภายใต้กรอบความยั่งยืน ทางการคลัง บริหารหนี้ต่างประเทศ - Refinance 110,000 ล้านบาท - Swap 94,000 ล้านบาท ลดภาระดอกเบี้ย 4,900 ล้านบาท Pro Active Debt Management 7 6

7 พัฒนาตลาดตราสารหนี้ ให้เป็นแหล่งระดมทุน ในระดับภูมิภาค
กลยุทธ์ของ สบน. KPI พัฒนาตลาดตราสารหนี้ ให้เป็นแหล่งระดมทุน ในระดับภูมิภาค มูลค่าตลาดรวม 50% ของ GDP และ Foreign Participation ไม่น้อยกว่า 2% ของมูลค่าตลาดรวม ภายในปี 2551 ความคืบหน้าในการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานตลาดตราสารหนี้ - Yield Curve / NCB / Scripless / SRO - Clearing and Settlement: Thai - Clear มีผลิตภัณฑ์ตราสารหนี้ที่หลากหลาย มีระบบสนับสนุนให้เกิดสภาพคล่องในตลาดรอง - Private Repo / Primary Dealers Advanced Market & Regional Linkages 7

8 เป็น CFO ในการระดมทุนสำหรับ โครงการลงทุนภาครัฐ
กลยุทธ์ของ สบน. KPI เป็น CFO ในการระดมทุนสำหรับ โครงการลงทุนภาครัฐ - Fund Mobilizing - Financial Innovation - Project/Program Financing - Monitoring and Evaluation - Capacity Building for Local Administration and Public Organization เป้าหมายปี 2548 - โครงการ 40 โครงการ - วงเงินกู้ 90,000 ล้านบาท ทั้งนี้ ยังไม่รวมการระดมเงิน สำหรับ Mega Projects CFO’s Mega Projects 8

9 กลยุทธ์ของ สบน. Customer-based Organization ปรับโครงสร้างองค์กร
KPI Customer-based Organization ปรับโครงสร้างองค์กร IT เสริมสร้างความแข็งแกร่งของ Supporting Functions พัฒนาระบบ IT สำเร็จ 5 ใน 8 ระบบ PR HR รายงานสถานะหนี้/ผลการดำเนินงาน ของ สบน. รายเดือน เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ - Exchange Program - PDMO Networking - Lunch Talk จัด Road Show ด้านตราสารหนี้ 2 ครั้ง ข้าราชการ สบน. ได้รับการอบรมอย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี Supporting Functions 9

10 IT Systems Risk Model CS-DRMS SRO Credit Scoring Back Bone IT System
E-Bidding Payment System OSU Evaluation Treasury (Cash Mgt.) Existing Developing Future 10

11 โปร่งใส วินัยดี มีเครดิต
11

12

13 ศูนย์เทคโนโลยีและสารสนเทศ (IT)
ผอ.สบน. ชช. 9 Front Office และภาระผูกพัน ด้านบริหารความเสี่ยง สำนักผู้อำนวยการ - กลั่นกรองงาน - สนับสนุนงานด้านบริหาร - ประชาสัมพันธ์ Middle Office ชช. 9 ด้านการระดมทุนและ นวัตกรรมทางการเงิน Back Office ชช. 9 ตราสารหนี้ในประเทศ ด้านพัฒนาตลาด กลุ่มงานส่งเสริมประสิทธิภาพ (รวมงาน HR) กลุ่มตรวจสอบภายใน กลุ่มงานกฎหมาย ชช. 9 ด้านการบริหารหนี้ อปท. และองค์กรพิเศษ ชช. 9 ด้านกำกับ ติดตาม และประเมินผล รอง ผอ.สบน. รอง ผอ.สบน. ชช. 9 ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักบริหารจัดการ หนี้สาธารณะ 1 สำนักบริหารจัดการ หนี้สาธารณะ 2 สำนักนโยบาย และแผน สำนักพัฒนาตลาด ตราสารหนี้ในประเทศ สำนักบริหาร การชำระหนี้ สำนักงาน เลขานุการ - วิเคราะห์โครงการ - เงินกู้ตาม กม. พิเศษ - เงินกู้ชดเชยขาดดุล - เงินกู้โครงการ ส่วนราชการ - ติดตามประเมินผล - วิเคราะห์โครงการ - เงินกู้โครงการ SOEs - Mega Projects - อปท. - SFIs - ติดตามประเมินผล - นโยบายและแผน - จัดลำดับความสำคัญ โครงการ - นโยบายค้ำประกัน และความเสี่ยง - ความร่วมมือ ระหว่าง ประเทศ - ตลาดแรก - ตลาดรอง - โครงสร้างพื้นฐาน - บริหารการชำระหนี้ - บริหารเงินให้กู้ต่อ - บริหารเงินกองทุน - สารบรรณ - คลังและพัสดุ - ระบบงานและ บริหารบุคคล - บริหารงาน ทั่วไป ศูนย์เทคโนโลยีและสารสนเทศ (IT) Consultants Center OSU/ Evaluation E-Bidding Treasury Credit Scoring CS- DRMS Risk Model SRO Payment System

14 หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นปี 2539 - ปัจจุบัน

15 Government Bond Yield Curve 2004


ดาวน์โหลด ppt บริหารจัดการหนี้สาธารณะ Liabilities Management)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google