งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม

2 ตัวแปรที่กำหนดขึ้นใช้เอง
รูปแบบ [Private/Public] Type Varname elementName[([subscripts])] as type ….. End Type โดยที่ Varname คือชื่อของตัวแปรที่ต้องการสร้างขึ้น elementName คือชื่อของตัวแปรที่อยู่ภายใต้ตัวแปรที่สร้างขึ้น subscripts คือขนาดของ array ใช้ในกรณี elementName ที่กำหนดขึ้นเป็น Array type คือประเภทของข้อมูล

3 ตัวอย่าง Type EmployeeRecord ID as integer Name as String *20
Address as String * 30 Phone as Long HireDate as Date End Type Dim MyRecord as EmployeeRecord MyRecord.ID = 123

4 Dim Varname[([Subscripts])] [As Type][,Varname [([Subscripts])]
ตัวแปรชนิด Array คือ เป็นโครงสร้างข้อมูลขั้นพื้นฐานที่เป็นการสร้างกลุ่มหรือชุดของตัวแปร โดยนำตัวแปรประเภทเดียวกันหลายๆ ตัวมาเรียงต่อกัน โดยสามารถอ้างถึงหรือเรียกใช้งานตัวแปรแต่ละตัวที่เป็นสมาชิกในกลุ่มได้ด้วยเลข Index การประกาศ Array จะมีรูปแบบดังนี้ Dim Varname[([Subscripts])] [As Type][,Varname [([Subscripts])] [As Type]]... โดยที่ Varname หมายถึง ชื่อของตัวแปร Array Subscripts หมายถึง ขนาดมิติ ซึ่งจะเขียนในรูปแบบ [Lower To]upper, [Lower to]upper… โดย Lower คือจำนวนแถวส่วน upper คือจำนวนสดมภ์ Type หมายถึงประเภทข้อมูล

5 Array แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ
1. Static Array เป็น Array ที่มีขนาดของมิติตายตัว เปลี่ยนแปลงไม่ได้ 2. Dynamic Array เป็น Array ที่เปลี่ยนแปลงขนาดของมิติได้ ในการสร้าง Array จะใช้การ Declare เช่นเดียวกับตัวแปรทั่วไป แต่จะมีส่วนของวงเล็บที่ใช้บอกขนาดของมิติของ Array นั้นต่อท้าย เช่น Dim A(10) As String

6 ตัวอย่าง การประกาศตัวแปรแบบ Array
Dim A(2) as integer Dim Z(1) Dim B(1 to 3) as String Dim C(3) as integer Dim D(1,2) as integer Dim E(1 to 5, 1 to 5) as integer Option Base 1 Dim y(4) as integer

7 Dim ArrayName( ) as VariableType Redim[Preserve]ArrayName(Subscripts)
Dynamic Array : Array ประเภทนี้สามารถเปลี่ยนแปลงขนาดได้ ดังนั้นในการ Declare จึงไม่ต้องระบุขนาดในวงเล็บ รูปแบบ Dim ArrayName( ) as VariableType Redim[Preserve]ArrayName(Subscripts) โดยที่ Redim เป็นคำสั่งเมื่อต้องการระบุถึงขนาดภายหลังของ Dynamic Array ArrayName คือ ชื่องของ Array Subscripts คือ ขนาดมิติของ Array ดังได้กล่าวแล้วแต่ในกรณีที่มากกว่า 1 มิติให้คั่นด้วยเครื่องหมาย “,” Preserve ใช้ในกรณีที่ต้องการเก็บข้อมูลของ Array ไว้เมื่อมีการปรับขนาดของ array เพราะถ้าไม่มีคำสั่ง Preserve ค่าที่อยู่ในตัวแปร array ก่อนที่ถูกเปลี่ยนขนาดจะหายทั้งหมด

8 เช่น Dim x( ) as integer ….. Redim x(5) for I = 1 to 5 x(I) = I next I ตัวอย่าง จงเปลี่ยนขนาดของ x(5) ให้มีขนาดเป็น 7 ช่อง Dim x ( ) as integer Redim x(7) การเปลี่ยนขนาดมิติของ Array มีข้อจำกัดสิ่งหนึ่งคือ เปลี่ยนขนาดได้เฉพาะมิติสุดท้ายของ Array ได้เท่านั้น เช่น

9 ตัวอย่าง ต้องการกำหนดฐานของ Array ชื่อ y ขนาด 5 ช่อง เริ่มที่ 1
Option Base 1 Dim y(5) as integer ค่าใน Array y จะมีชื่อ y(1),y(2),y(3),y(4),y(5)

10 ตัวอย่าง Dim A(2) as integer Dim strB(3) as string Dim Z(4) A(0) = 6
strB(0) = “EAU” strB(1) = “Love” strB(2) = strB(0)+strB(1) strB(3) = strB(1) & strB(0) Z(0) = 78 Z(1) = 100 Z(2)= Z(0) + Z(1) Z(3)= Z(0) & Z(1) Z(4) =Z(1) – Z(0) Print A(1),A(2),strB(2) Print strB(3),Z(2),Z(3) Print Z(4)

11 ตัวอย่าง ถ้าข้อมูลใน Array x(5) เป็นดังนี้ 5,10,15,20,25 ฐานของ Array เริ่มที่ 1แล้วหลังจากประมวลผลคำสั่ง Redim Preserve x(10) ค่าของ x ทั้งหมดเป็นอย่างไร จะได้ Redim Preserve x(10) คือ x(o) = 0,x(1)=5,x(2)=10,x(3)=15,x(4)=20, x(5)=25,x(6)=0,x(7)=0,x(8)=0,x(9)=0,x(10)=0 ถ้าเป็น Redim x(10) จะได้ค่าทุกค่าใน x เป็น 0 หมด คือ x(0) = 0,x(1)=0,x(2)=0,x(3)=0,x(4)=0,x(5)=0,x(6)=0 X(7) =0,x(8)=0,x(9)=0,x(10) =0

12 การเปลี่ยนมิติของ Array มีข้อจำกัดคือ เปลี่ยนขนาดได้เฉพาะมิติสุดท้ายของ Array ได้เท่านั้น
ตัวอย่าง Dim Temp( ) as integer Redim Temp(10,10,4) Redim Temp(10,10,6) Redim Temp(10,11,5)

13 จากโปรแกรมต่อไปนี้เมื่อประมวลผลจะได้ผลลัพธ์อย่างไร
Private sub Command1_Click() Dim A(10) as integer,y as integer Dim I as integer, J as integer A(1) = 30 A(2) = 2 A(3) = 8 A(4) = 15 A(5) = 11 A(6) = 1 For I = 2 to 6 Y = A(i) A(0) = y j= i-1 Do While Y<A(j) A(J+1) = A(J) J= J-1 Loop A(J+1) = y Next I For I = 1 to 6 Print A(i) End Sub

14 Control Array คือ 0bject สามารถทำให้อยู่ในรูปของ Array
ตัวอย่าง การสร้างเครื่องคิดเลข จะมีปุ่มตัวเลขตั้งแต่ 0-9 และเครื่องหมายสัญลักษณ์ โดยใช้ Command Button ตัวอย่าง การรับและแสดงค่าโดย Control Array ใช้ Text Box เมื่อกดปุ่ม Command Button จะลบข้อความใน Text Box ทั้งหมด for I = 0 to 4 Text1(i).text = “ “ Next

15 รูปแบบ With objectName
[.cstatements] End With โดยที่ objectName คือชื่อของ Object Cstatements หมายถึง Method และ Property ของ Object ที่กำหนดใน ObjectName

16 ตัวอย่าง With Text1 Text1.Left = 0 .Left = 0 Text1.Top = 0 .Top = 0
.Width = 200 .Height = 200 End With Text1.Left = 0 Text1.Top = 0 Text1.Width = 200 Text1.Height = 200


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google