งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบาย การบริหารจัดการพลังงานเพื่อก้าวสู่การเป็นอุตสาหกรรมสีเขียวและการเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันด้วย Carbon Footprint นายดนัย เอกกมล ผู้อำนวยการสำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบาย การบริหารจัดการพลังงานเพื่อก้าวสู่การเป็นอุตสาหกรรมสีเขียวและการเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันด้วย Carbon Footprint นายดนัย เอกกมล ผู้อำนวยการสำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบาย การบริหารจัดการพลังงานเพื่อก้าวสู่การเป็นอุตสาหกรรมสีเขียวและการเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันด้วย Carbon Footprint นายดนัย เอกกมล ผู้อำนวยการสำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ในงานการบริหารจัดการเพื่อการประหยัดพลังงานในอุตสาหกรรม 2010 วันศุกร์ที่ 29 ตุลาคม 2553 1 1

2 สถานการณ์พลังงานในโลกในปัจจุบัน 2
ความต้องการพลังงานเพิ่มขี้นตามจำนวนประชากร 2 2

3 ผลกระทบจากการผลิตและการใช้พลังงาน
ผลกระทบต่อสุขภาพ 3 3

4 ปริมาณน้ำมันดิบในโลกจะอยู่ได้อีกกี่ปี
น้ำมันดิบจะมีใช้ในโลกได้อีกประมาณ 40 ปี โดยเฉลี่ย Relationship  MENA Oil 80 ปี ME R/P ~ 40 ปี S. Am 50 ปี Afr 35 ปี EU 27 ปี N. Am 15 ปี AP 15 ปี 4 ที่มา: BP Statistical Review of World Energy 2009

5 ปริมาณก๊าซธรรมชาติในโลกจะอยู่ได้อีกกี่ปี
ก๊าซธรรมชาติจะมีใช้ในโลกได้อีกประมาณ 60 ปี โดยเฉลี่ย ME 200 ปี R/P ~ 60 ปี Af 70 ปี EU 70 ปี N. Am 15 ปี S. Am 70 ปี AP 40 ปี 5 ที่มา: BP Statistical Review of World Energy 2009

6 ปริมาณสำรองถ่านหินในโลก
ถ่านหินจะมีใช้ในโลกได้อีกประมาณ 150 ปี โดยเฉลี่ย ปริมาณถ่านหินสำรองทั่วโลก ณ ปี 2009 Billion tonnes ~ 826 R/P ~ 150 ปี Europe & Eurasia % Asia Pacific 31.39% North America 29.79% Africa 3.87% S. &C. America 1.82% M.E % 6 ที่มา: BP Statistical Review of World Energy 2009

7 เราเหลือพลังงานสำรองในโลก ได้อีกนานแค่ไหน....????
เราเหลือพลังงานสำรองในโลก ได้อีกนานแค่ไหน....???? น้ำมัน เหลือใช้ได้เพียง ~ 40 ปี ก๊าซธรรมชาติ เหลือใช้ได้เพียง ~ 60 ปี ถ่านหิน เหลือใช้ได้ประมาณ ~ 150 ปี 7 ที่มา: BP และ EIA 2007

8 เมื่อน้ำมัน/ก๊าซธรรมชาติ/ถ่านหิน
หมดไปจากโลก เราจะอยู่กันอย่างไร....????? 8

9 คำตอบ … คือ … 1. พึ่งพาพลังงานทดแทน Renewable Energy 2
คำตอบ … คือ … 1. พึ่งพาพลังงานทดแทน Renewable Energy 2. ใช้พลังงานที่มีอยู่อย่างประหยัด Energy Efficiency 3.พัฒนาพลังงานใหม่ New Energy 9

10 ระดับของ CO2 ในช่วง 60,000 ปีที่ผ่านมา
‘Our spike’ : Size matches fossil fuel we have burned Isotopes show the CO2 comes from fossil fuel No geological parallel CO2 & Temp. linked by observation & simple physics LAST ICE AGE 10 Source: Energy After Oil; Lord Ron Oxburgh, Sep 2007

11 อายุคงอยู่ในชั้นบรรยากาศ (ปี) Atmospheric Lifetime (year)
ก๊าซเรือนกระจก 6 ชนิด ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gases) ศักยภาพในการทำให้โลกร้อน (เทียบเท่ากับคาร์บอนไดออกไซด์) (Global Warming Potential: GWP) อายุคงอยู่ในชั้นบรรยากาศ (ปี) Atmospheric Lifetime (year) คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 1 มีเทน (CH4) 21 12 ไนตรัสออกไซด์ (N2O) 310 120 ไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน (HFCs) ,700 เปอร์ฟลูออโรคาร์บอน (PCFs) 6, ,200 2, ,000 ซัลเฟอร์เฮกซาฟลูโอไรด์ (SF6) 23,900 3,200 11 ที่มา: Climate Change 1995, IPCC Second Assessment Report, US EPA 2002

12 สถานการณ์พลังงานของไทยในปี 2552
น้ำมันสำเร็จรูป ไฟฟ้า ถ่านหิน/ลิกไนต์ ก๊าซธรรมชาติ พลังงานทดแทน 47.7% 17.4% 10.7% 5.4% 18.8% ความต้องการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายตามชนิดพลังงาน ธุรกิจการค้า การขนส่ง อุตสาหกรรม 7.6% 35.7% ความต้องการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายตามภาคเศรษฐกิจ 36.6% The First I would like to present energy situation in Thailand 2008 Energy consumption in Thailand is continuously increased during the year with an average annual growth rate of 2% In 2008 the total final energy consumption was about 66 Million tons of oil equivalent. Final energy consumption by economic sector, you will see the Transportation and Manufacturing are big consumptions that consumed the final energy amount for 72% of the country energy demand. In transportation is almost used petroleum products and for industrial sector is mixed consisting of petroleum products, natural gas, coal and agricultural waste. The total value of energy imported is a large financial burden on our country. Especially the imported petroleum product is a major portion about 97% of total value of energy imported. 5.2% 14.9% เกษตรกรรม บ้ายอยู่อาศัย ความต้องการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย 66.3 Mtoe (มูลค่านำเข้า 34,056 Million USD)* 12 *1 USD = 33 THB Ref : DEDE, Thailand Energy Situation 2009

13 ใส่ใจดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
13

14 ผลกระทบจากการผลิตและการใช้พลังงานในโลก
เช่น ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล โรคระบาด ผลผลิตตกต่ำ พืชผลไม่ออกตามฤดูกาล เช่น ความแห้งแล้ง อุทุกภัย ผลกระทบต่อโครงสร้างพื้นฐานและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ผลกระทบด้านการเกษตร ผลกระทบต่อทรัพยากรน้ำ ผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ ผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์ ตัวแปรของภูมิอากาศที่สำคัญ ปริมาณฝน อุณหภูมิ ปริมาณแสงแดด อุณหภูมิเฉลี่ยโลกที่เพิ่มขึ้น 1C ส่งผลต่อ องค์ประกอบพันธุ์ไม้ในป่า ถึง 1 ใน 3 ป่าบางชนิดอาจสูญพันธุ์ ศัตรูพืชคุกคาม ไฟป่าเพิ่มขึ้น สิ่งมีชีวิตในป่าที่เปลี่ยนไป โรคระบาด เช่น อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้นอีก 1-3 C ประชากรของโลกประมาณร้อยละ 45 จะอยู่อาศัยในพื้นที่เสี่ยงต่อการแพร่กระจายของโรคมาลาเรีย 14

15 15 การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เป้าหมายของประเทศไทย
ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เป้าหมายเบื้องต้น พลังงานทดแทน (RE); REDP ล้านตัน/ปี คิดเป็นมูลค่าการปรับลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 21,000 ล้านบาท ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (EE) ล้านตัน/ปี คิดเป็นมูลค่าการปรับลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 15,000 ล้านบาท *ไม่รวมการประหยัดพลังงานในภาคขนส่ง 15

16 Carbon Footprint การบริหารจัดการพลังงาน
เพื่อก้าวไปสู่อุตสาหกรรมสีเขียว Carbon Footprint การเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน ด้วยฉลากสินค้า Carbon Footprint 16

17 เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน Reduce Energy : Reduce CO2
Manage-ment ISO:50001 Carbon Footprint กฎหมาย กิจกรรม ขั้นตอน PDCA ที่มา ฉลาก สถานภาพ ปัจจุบัน ISO:14067 Relevance Reduce Energy : Reduce CO2 17

18 พลังงานเกี่ยวข้องกับ LCA โดยตรง
18

19 น้ำมัน(เตา) 1 kg ปล่อย CO2 620 g
ไฟฟ้า 1 kWh ปล่อย CO2 561 g น้ำมัน(เตา) 1 kg ปล่อย CO2 620 g ดังนั้นหากลดใช้พลังงานนอกจากค่าใช้จ่ายลดลงแล้ว ยังทำให้ลด CO2 ได้อีกด้วย ที่มา : ตัวอย่าง Emission Factor ซึ่งรวบรวมมาจากข้อมูลทุติยภูมิ ในเอกสารแนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ ภายใต้โครงการส่งเสริมการใช้คาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ ธันวาคม 2552 19

20 ระบบการจัดการพลังงาน
Energy Management Sub Department กฎหมาย พรบ.การส่งเสริมอนุรักษ์พลังงาน มาตรฐาน (ISO:50001/มอก.) VE,IE,TQM,SMART, ฯลฯ 20

21 21 พรบ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
พ.ศ (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม 2550) พระราชกฤษฎีกา กำหนดโรงงานควบคุม / อาคารควบคุม กฎกระทรวงกำหนด มาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงาน กฎกระทรวงกำหนด จำนวน คุณสมบัติ ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน กฎกระทรวงกำหนดคุณสมบัติ ผู้ตรวจสอบพลังงาน 21

22 พระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงาน/อาคารควบคุม พ.ศ. 2538
เครื่องวัดไฟฟ้าตั้งแต่ ,000 kW ขึ้นไป หม้อแปลงไฟฟ้าตั้งแต่ 1,175 kVA ขึ้นไป การใช้พลังงานรวมตั้งแต่ 20 ล้าน MJ/ปี ขึ้นไป มีผลบังคับใช้ 12 ธ.ค. 2538 22

23 แนวคิดของการใช้ระบบจัดการพลังงาน
มาตรฐานระบบการจัดการพลังงาน (Energy Management System) นี้ กำหนดขึ้นโดยใช้ มาตรฐานของประเทศสหรัฐอเมริกา (ANSI/MSE 2000 A Management System for Energy) อังกฤษ (Standards for Managing Energy) เดนมาร์ก (DS2403E:2001 Energy Management - Specifications) เป็นแนวทาง และอาศัยหลักการของระบบการจัดการตามอนุกรมมาตรฐาน มอก.-9000/ISO 9000 มอก /ISO 14000 และ มอก ด้วยเหตุที่วัตถุประสงค์ของระบบการจัดการพลังงานต้องสามารถรวมเข้ากับระบบการจัดการอื่นๆขององค์กร การจัดทำจึงอ้างอิงข้อความของมาตรฐานเดิมเป็นหลัก และเพื่อให้สามารถใช้ได้กับองค์กรทั่วไปทุกขนาดและทุกสาขาอาชีพ การนำระบบมาใช้ นำระบบการจัดการพลังงานมาใช้ในการกำกับดูแลตามข้อกำหนดตามมาตรการ 9 และ 21 ซึ่งกำหนดให้ เจ้าของโรงงาน/อาคารควบคุม ต้องดำเนินการอนุรักษ์พลังงานด้วยการจัดการพลังงาน 23

24 การปฏิบัติตามกฎหมายของโรงงาน/อาคารควบคุม
ระบบจัดการพลังงาน 1 1. ตั้งคณะทำงานด้านการจัดการพลังงาน 2. ประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบื้องต้น แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ ด้านพลังงาน จัดการพลังงานตาม ข้อกำหนดใน กฎกระทรวง ส่งรายงานภายใน มี.ค. ทุกปี 2 3. กำหนดนโยบายอนุรักษ์พลังงาน 4. ประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 5. กำหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน และแผนการฝึกอบรมและกิจกรรมส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน 6. ดำเนินการตามแผนอนุรักษ์พลังงานและ ตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน 7. ตามติดตามและประเมินการ จัดการพลังงาน 8. ทบทวน วิเคราะห์และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัดการพลังงาน 3 24

25 ตั้งคณะทำงาน ด้านการจัดการ พลังงาน
กำหนดโครงสร้าง อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของพนักงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการในด้านพลังงานรวมทั้งจัดทำเป็นเอกสารและเผยแพร่ให้บุคคลที่เกี่ยวข้องภายในองค์กรทราบ แต่งตั้งผู้จัดการพลังงาน (Energy Manager) มีอำนาจหน้าที่ ดูแลให้ระบบการจัดการพลังงานที่จัดทำขึ้น มีการนำไปใช้และดำเนินการเป็นไปตามข้อกำหนดในมาตรฐานนี้อย่างต่อเนื่อง รายงานผลการปฏิบัติตามระบบการจัดการพลังงานต่อผู้บริหารระดับสูง เพื่อนำไปใช้ในการทบทวนการจัดการ และเป็นแนวทางสำหรับการปรับปรุงระบบการจัดการพลังงาน ผู้บริหารระดับสูงต้องเป็นผู้นำในการแสดงความรับผิดชอบด้านพลังงานและดูแลให้มีการปรับปรุงระบบการจัดการพลังงานอย่างสม่ำเสมอ ตั้งคณะทำงาน ด้านการจัดการ พลังงาน 25

26 ประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบื้องต้น
องค์กรต้องทบทวนการดำเนินงานด้านพลังงานที่มีอยู่กับ เกณฑ์การอนุรักษ์พลังงานที่ดี ซึ่งประกาศใช้/เป็นที่ยอมรับ/กำหนดเป็น Guideline ในการตรวจประเมิน ข้อกำหนดตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของทรัพยากรที่มีอยู่ ซึ่งนำไปใช้ในการจัดการพลังงาน แนวทางดำเนินงานด้านพลังงานที่มีอยู่ในองค์กรในอดีต ข้อปฏิบัติและการดำเนินงานที่ดีกว่าซึ่งองค์กรหรือหน่วยงานอื่นได้จัดทำเอาไว้ (Best Practice) ข้อมูลจากการทบทวนสถานะเริ่มต้น จะใช้ในการพิจารณากำหนดนโยบายและกระบวนการจัดทำระบบการจัดการพลังงาน ประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบื้องต้น การทบทวนสถานะเริ่มต้นนี้จะใช้เฉพาะเมื่อมีการนำมาตรฐานนี้มาใช้เป็นครั้งแรกเท่านั้น เมื่อระบบการจัดการดำเนินไปได้ครบถ้วนตามข้อกำหนดแล้ว ผลจากการทบทวนการจัดการจะนำไปใช้ในการทบทวนนโยบายและพิจารณาปรับปรุงระบบการจัดการต่อไป 26

27 กำหนดนโยบายอนุรักษ์พลังงาน
ผู้บริหารสูงสุดขององค์กรต้องกำหนดนโยบาย โดยจัดทำ เป็นเอกสารพร้อมทั้งลงนามโดยผู้บริหารระดับสูง เพื่อแสดง เจตจำนงในการจัดการพลังงาน นโยบายต้อง เป็นส่วนหนึ่งของธุรกิจ เหมาะสมกับลักษณะและปริมาณพลังงานที่ใช้ แสดงเจตจำนงที่จะปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกำหนดอื่นๆ ที่ องค์กรได้ทำข้อตกลงไว้ แสดงเจตจำนงที่จะปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานอย่าง ต่อเนื่อง แสดงเจตจำนงที่จะจัดสรรทรัพยากรให้เพียงพอเหมาะสมใน การดำเนินการตามระบบการจัดการพลังงาน กำหนดนโยบายอนุรักษ์พลังงาน Awareness Commitment Implementation SMART Interest Thrust Commitment Desire Applicability Review Action 27

28 ประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน
การประเมินการใช้พลังงานที่มีนัยสำคัญ ต้องจัดทำและปฏิบัติตามเอกสารขั้นตอนการดำเนินงานที่ช่วยในการบ่งชี้ลักษณะการใช้พลังงาน ระดับพลังงานที่ใช้ และการประมาณระดับการใช้พลังงานทุกกิจกรรม ให้พิจารณา (1) ข้อมูลการใช้พลังงานทั้งในอดีต และปัจจุบัน (2) รายการอุปกรณ์ที่ใช้พลังงานในสัดส่วนที่สูง (3) แผนงานด้านอนุรักษ์พลังงาน (4) ศักยภาพในการอนุรักษ์พลังงาน จัดทำและเก็บบันทึกตามที่กำหนด จัดทำและปฏิบัติตามเอกสารขั้นตอนการดำเนินงานในการติดตามข้อกำหนดตามกฎหมาย และข้อกำหนดอื่นๆ ที่นำมาใช้ในการจัดการพลังงานให้ทันสมัย ประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน Overproduction Over-processing Energy Waste Waiting Inventory Rework Transportation Motion 28

29 29 แผนเพื่อรองรับมาตรการอนุรักษ์พลังงานที่คัดเลือก
แผนประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างจิตสำนึกของพนักงานใน แผนการฝึกอบรมเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง หัวหน้างานทำการวิเคราะห์ความจำเป็นในการฝึกอบรมด้านพลังงาน (Training Need Analysis) ของพนักงานและจัดส่งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องนำไปจัดทำเป็นแผนการฝึกอบรมรวม ระดับการฝึกอบรมที่ต้องได้รับ ควรสอดคล้องกับระดับ Impact (Awareness, Interest, Desire, Action) ที่คาดหวังจากพนักงาน กำหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน และแผนการฝึกอบรมและกิจกรรมส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน Benchmarking Specific Energy Consumption (SEC) Process Mapping Energy Relation 29

30 หลังจากที่มาตรการต่างๆผ่านการอนุมัติจากผู้บริหารระดับสูงขององค์กร ผู้ที่ได้รับมอบหมายก็จะมีหน้าที่นำไปปฏิบัติเพื่อให้เกิดผลตามกำหนดเวลาที่ระบุ ในระหว่างที่กำลังดำเนินการยังไม่แล้วเสร็จ จำเป็นจะต้องติดตามความก้าวหน้าและเปรียบเทียบกับแผนงาน ดำเนินการตามแผนอนุรักษ์พลังงานและ ตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน %Completion Control Chart Moving Average Chart 30

31 ตามติดตามและประเมินการ
มีการตรวจประเมินตลอดทั้งองค์กร โดยต้องครอบคลุม ขอบข่าย ความถี่ วิธีการตรวจประเมิน รวมทั้งความรับผิดชอบในการตรวจประเมิน ผู้ตรวจประเมินต้องเป็นบุคคล ที่มีความรู้ความสามารถในการตรวจประเมินระบบการจัดการพลังงานและมีความเป็นอิสระจาก กิจกรรมที่ทำการตรวจประเมิน เพื่อตัดสินว่า ระบบการจัดการพลังงานขององค์กรเป็นไปตามมาตรฐาน องค์กรได้ดำเนินการและบรรลุผลตามนโยบายและการเตรียมการจัดการพลังงาน แผนการตรวจประเมินขึ้นกับระดับการใช้พลังงานและผลการตรวจประเมินที่ผ่านมา นอกจากนี้ต้องมีการรายงานผลการตรวจประเมิน และส่งให้บุคคลที่ถูกตรวจประเมิน ผู้บังคับบัญชาของหน่วยงานที่ถูกตรวจประเมินรวมทั้งผู้เกี่ยวข้องเพื่อทำการแก้ไข ตามติดตามและประเมินการ จัดการพลังงาน Internal Audit Looking for evidence 31

32 ทบทวน วิเคราะห์และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัดการพลังงาน
ผู้บริหารต้องทบทวนระบบการจัดการพลังงานตามระยะเวลาที่กำหนดเพื่อให้แน่ใจว่าระบบการจัดการยังคงมีความเหมาะสม มีความเพียงพอ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล พิจารณาถึง (1) ผลการดำเนินงานของระบบการจัดการพลังงานทั้งหมด (2) ผลการดำเนินงานเฉพาะแต่ละข้อกำหนดของระบบการจัดการ (3) สิ่งที่พบจากการตรวจประเมิน (4) ปัจจัยภายในและภายนอก วิเคราะห์ว่าการกระทำใดที่จำเป็นต้องแก้ไขจากข้อบกพร่องของระบบการจัดการพลังงาน พิจารณาความจำเป็นของการเปลี่ยนแปลงนโยบาย การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของระบบการจัดการพลังงาน พิจารณา จากผลการตรวจประเมิน จากสภาวการณ์ที่เปลี่ยนไป จากเจตจำนงที่จะให้มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (PDCA) ทบทวน วิเคราะห์และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัดการพลังงาน 32

33 Carbon Footprint (CFP)
33

34 Carbon Footprint (CFP)
ปริมาณก๊าซเรือนกระจกในรูปของ CO2 เทียบเท่า ที่ปล่อยออกมาจากผลิตภัณฑ์แต่ละหน่วยตั้งแต่การได้มาของวัตถุดิบ การผลิต การขนส่ง การใช้งาน ตลอดวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ และรวมถึงการจัดการผลิตภัณฑ์หลังใช้งาน โดยวัดออกมาในรูปของ คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (CO2e) ความหมาย Carbon Footprint ฉลากที่แสดงระดับการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในรูปของ CO2 เทียบเท่า ออกสู่บรรยากาศต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ โดยการประเมินวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ หรือสินค้า (Life Cycle Assessment : LCA) ตั้งแต่การจัดเตรียมวัตถุดิบ การผลิต การใช้ และการจัดการหลังการใช้ โดยแสดงผลอยู่ในรูปของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (CO2 equivalent) ฉลาก CFP 34

35 ก๊าซเรือนกระจก ประกอบก๊าซ 6 ชนิด
35

36 Carbon Footprint ในประเทศไทย
หน่วยงานรับผิดชอบ Carbon Footprint ระยะแรก กลุ่มเป้าหมายคือผลิตภัณฑ์และบริการที่จำหน่ายในประเทศ เพื่อสร้างความตระหนักและทางเลือกแก่คนไทยได้มีส่วนร่วมในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ส่วนของผู้ประกอบการ แสดงถึงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกซึ่งถือเป็นการลดต้นทุนการผลิต และเป็นการแสดงภาพลักษณ์และเจตนารมณ์ที่รับผิดชอบต่อสังคม รวมทั้งยังเป็นการเตรียมความพร้อมในการพัฒนาไปสู่ในการจัดทำ ฉลากลดคาร์บอน ในระดับสากล ฉลาก CFP ในระเทศไทย 36

37 37 อังกฤษ ฝรั่งเศส สวิสเซอร์แลนด์ แคนาดา ญี่ปุ่น เกาหลี สถานภาพของ
ระหว่างจัดทำฐานข้อมูลการประเมินวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ (LCA) ที่มีความสมบูรณ์เพียงพอ เตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบมาตรฐาน ISO ที่มีการนำก๊าซเรือนกระจกเข้ามาพิจารณา ปัจจุบันสามารถขอขึ้นทะเบียนของฉลาก CFP ได้แล้ว สถานภาพของ ฉลาก CF ประเทศไทย อังกฤษ ฝรั่งเศส สวิสเซอร์แลนด์ แคนาดา ญี่ปุ่น เกาหลี ประเทศที่ใช้ ฉลาก Carbon Footprint 37 1 ม.ค. 54 ฝรั่งเศษได้ออกกฎหมายสินค้าต้องมีการแสดง Carbon Footprint

38 38

39 เป็นการเพิ่มขีดความสามารถของอุตสาหกรรมไทยในการแข่งขันในตลาดโลก
ประโยชน์ของ CFP 2 3 1 4 เป็นการเพิ่มขีดความสามารถของอุตสาหกรรมไทยในการแข่งขันในตลาดโลก ช่วยให้เรามีอำนาจในการต่อรองมากขึ้นในการประชุมระดับโลกเพื่อกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหาภาวะโลกร้อน เป็นกลไกทางการตลาดในการกระตุ้นให้ผู้ผลิตพัฒนาสินค้าที่ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกตามความต้องการของผู้บริโภค กระตุ้นให้ผู้ประกอบการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีในการผลิตให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและลดพลังงานมากยิ่งขึ้น ช่วยส่งเสริมให้ประชาชนผู้บริโภคสามารถมีส่วนร่วมในการลดก๊าซเรือนกระจกได้โดยตรง 39

40 การประเมิน CFP ของผลิตภัณฑ์
ดำเนินการประเมินหรือจัดจ้างบริษัทที่ปรึกษาได้ด้วยตัวเอง หรือให้ อบก. แนะนำผู้มีความสามารถให้คำปรึกษาการประเมิน 40

41 ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์ CFP
41

42 (ข้อมูล ณ วันที่ 3 สิงหาคม 2553) จำนวน 22 บริษัท
บริษัทและผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการอนุมัติให้ขึ้นทะเบียนคาร์บอนฟุตพริ้นท์ เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2553 (ข้อมูล ณ วันที่ 3 สิงหาคม 2553) จำนวน 22 บริษัท ไทยน้ำทิพย์ บางกอกแคน แมนนูแฟคเจอริ่ง เซรามิคอุตสาหกรรมไทย เอเชียไฟเบอร์ ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑ์อาหาร เจริญโภคภัณฑ์อาหาร เพรสซิเดนท์ไรซ์โปรดัก ทิปโก้ฟูดส์ บางซื่อโรงสีไฟเจียเม้ง คาร์เปทอินเตอร์แนชั่นแนลไทยแลนด์ ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม ยางโอตานิ อีสเทิร์นโพลี แพค การบินไทย เอส ไอ จี คอมบิบล็อค เบทาโกร ไทยไฮบริด ไทยคอนเทนเนอร์ (ทีซีซี) สยาม รีคอนดิชั่น อินดัสตรี้ อินเตอร์เนชั่นแนล เพ็ท ฟู้ด ซี.พี. อินเตอร์เทรด 42 ทองไทย การทอ

43 43

44 ผลกระทบจากการผลิตและการใช้พลังงานในโลก
5. จะต้องมีการส่งเสริมการกระจายแหล่งผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก (Distributed Generation: DG) 6. จะต้องมีการส่งเสริมการพัฒนาพลังงงานสะอาด (CDM) 7. จะต้องมีการเสริมสร้างการพัฒนาพลังงานไฟฟ้าที่ยั่งยืน (Sustainable Power Development) 44

45 ผลกระทบจากการผลิตและการใช้พลังงานในโลก
ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในทะเล สิ่งมีชีวิตถูกคุกคาม น้ำทะเลอุ่นขึ้นสาหร่ายที่อยู่บนปะการังถูกทำลายและหลุดไป ปะการังเกิดการฟอกขาว (bleaching) ปะการังที่เคยเป็นแหล่งอาหารของสัตว์ทะเลลดลง สัตว์ทะเลลดจำนวนตาม 45 รูปจากปะการังในมหาสมุทรอินเดีย

46 ผลกระทบจากการผลิตและการใช้พลังงานในโลก
หิมะปกคลุมบนยอดเขาคิลิมันจาโร ในประเทศแทนซาเนีย ทวีปแอฟริกา ละลายเกือบหมด ในระยะเวลาเพียง 7 ปี 1993 (2536) 2000 (2543) Source: Government of South Australia, 2005 ขอบแผ่นน้ำแข็งทะเลอาร์คติก นับแต่ปี แผ่นน้ำแข็งบริเวณขั้วโลกเหนือละลายแล้วถึง 20 % 46 ธารน้ำแข็งประเทศนอร์เวย์

47 ผลกระทบจากการผลิตและการใช้พลังงานในโลก
น้ำแข็งทั่วโลกละลาย กรีนแลนด์ บริเวณขั้วโลกเหนือ Albedo Effect บริเวณที่น้ำแข็งละลาย 47 ที่มา: bbc.co.uk

48 ขอบคุณ 48


ดาวน์โหลด ppt นโยบาย การบริหารจัดการพลังงานเพื่อก้าวสู่การเป็นอุตสาหกรรมสีเขียวและการเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันด้วย Carbon Footprint นายดนัย เอกกมล ผู้อำนวยการสำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google