งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ชื่อวิชา การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์งานโฆษณาและ ประชาสัมพันธ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ชื่อวิชา การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์งานโฆษณาและ ประชาสัมพันธ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ชื่อวิชา การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์งานโฆษณาและ ประชาสัมพันธ์
รหัสวิชา นท CM.3205 ชื่อวิชา การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์งานโฆษณาและ ประชาสัมพันธ์ Print media Production for Advertising and Public Relations CM Print media Production for Advertising and Public Relations

2 คำอธิบายรายวิชา ศึกษาความหมายและบริบทที่เกี่ยวข้องกับสื่อสิ่งพิมพ์ ตั้งแต่นิยาม ความหมาย ความสำคัญ องค์ประกอบ ประเภทของสื่อสิ่งพิมพ์ ตลอดจนประวัติความเป็นมาพัฒนาการของสื่อสิ่งพิมพ์ และสถานการณ์ปัจจุบัน การตลาดที่เกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์ ศึกษาภารกิจ อิสระเสรีภาพ และความ รับผิดชอบของสื่อสิ่งพิมพ์ เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานให้แก่ผู้เรียนในการประยุกต์ใช้สื่อสิ่งพิมพ์ และการวางแผนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เพื่องาน โฆษณาและประชาสัมพันธ์ ศึกษากระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เพื่องานโฆษณาและประชาสัมพันธ์ ตั้งแต่ขั้นการออกแบบ เตรียมการผลิต ขั้นตอนการผลิต เพื่อให้ผู้เรียนมี ความรู้และทักษะในการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ตามที่ต้องการได้ CM Print media Production for Advertising and Public Relations

3 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรอบรู้เกี่ยวกับนิยาม ความหมาย คุณลักษณะ ความสำคัญ บริบทที่เกี่ยวข้องกับสื่อสิ่งพิมพ์ พัฒนาการ และสถานการณ์ปัจจุบันต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการผลิต การเผยแพร่สื่อสิ่งพิมพ์ ตลอดจนบทบาทและความรับผิดชอบของสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีต่อบุคคล สังคม ระบบเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง 2. เพื่อให้นักศึกษารู้จักวางแผน เตรียมการทั้งด้านการจัดองค์กร การออกแบบ และลงมือปฏิบัติผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เฉพาะกิจ เพื่องานโฆษณาและงานประชาสัมพันธ์ CM Print media Production for Advertising and Public Relations

4 ขอบข่ายเนื้อหา และสาระสำคัญ
บทที่ 1 สื่อสิ่งพิมพ์และบริบทที่เกี่ยวข้อง 1. นิยาม ความหมาย และความสำคัญ 2. องค์ประกอบ (ผู้ผลิต, ผู้ใช้, ผู้ควบคุม) 3. สิ่งพิมพ์เพื่องานโฆษณาและประชาสัมพันธ์ (รูปแบบแต่ละประเภท, พัฒนาการ) 4. สถานการณ์ของตลาดที่เกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์ (การสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการ ด้วยสื่อสิ่งพิมพ์) บทที่ 2 ภารกิจ อิสระเสรีภาพ และความรับผิดชอบของสื่อสิ่งพิมพ์ 1. บทบาทและหน้าที่ 2. เสรีภาพและความรับผิดชอบ (อำนาจภายนอกที่มีต่อสื่อ) 3. อิสรภาพและอุดมการณ์ (อำนาจภายในของสื่อ) 4. อิทธิพลของสื่อสิ่งพิมพ์ บทที่ 3 การออกแบบและการเตรียมการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์งานโฆษณาและประชาสัมพันธ์ 1. กระบวนการออกแบบสื่อ 2. ขั้นเตรียมการผลิต 3. โทคโนโลยีและกระบวนการผลิต บทที่ 4 การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เฉพาะกิจ (Special Publications) 1. สิ่งพิมพ์เฉพาะกิจ 2. หนังสือเล่มเพื่อการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ 3. Digital Printing CM Print media Production for Advertising and Public Relations

5 การวัดผลและประเมินผล
ตำราหลัก 1. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช สาขาวิชานิเทศศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชา ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์ (Introduction to Print Media) หน่วยที่ 1-12 2. รองศาสตราจารย์ ดร.เสรี วงษ์มณฑา. สื่อประชาสัมพันธ์ (Public Ralations Media). กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดบุ๊คเซ็นเตอร์, บทที่ 4 สื่อสิ่งพิมพ์พิเศษ 3. กรรณิการ์ อัศวดรเดชา. สื่อและเครื่องมือเพื่อการประชาสัมพันธ์ (Media and Tools for Public relations). กรุงเทพฯ: โครงการตำรา คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, บทที่ 4, 5, 10 การวัดผลและประเมินผล คะแนนระหว่างภาค 70 คะแนน ความสนใจในการเรียน (การเข้าเรียน) 10 คะแนน ผลงานนำเสนอ-รายงาน (ส่วนบุคคล) 20 คะแนน ผลงานนำเสนอ-รายงาน (กลุ่ม) 40 คะแนน คะแนนสอบปลายภาค 30 คะแนน CM Print media Production for Advertising and Public Relations

6 CM.3205 สิ่งพิมพ์โฆษณา ประชาสัมพันธ์ CM.4204 สิ่งพิมพ์-ดิจิตอล การตลาด
กรอบศึกษา 1/3 CM.3205 สิ่งพิมพ์โฆษณา ประชาสัมพันธ์ CM สิ่งพิมพ์-ดิจิตอล การตลาด องค์ประกอบ และ การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ -Journal, Booklet, Company profile, Annual report, Brochures, Manual, Catalogue -Leaflet, Folder, Notice, Cutout, Newsletter องค์ประกอบ และการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อดิจิตอล/อิเล็คทรอนิก -สิ่งพิมพ์เฉพาะกิจ ระบบดิจิตอล -สื่อมัลติมีเดีย ระบบดิจิตอล CD/DVD, Video, File -สื่อสารสนเทศ Website CM Print media Production for Advertising and Public Relations

7 CM.3205 สิ่งพิมพ์โฆษณา ประชาสัมพันธ์ CM.4204 สิ่งพิมพ์-ดิจิตอล การตลาด
กรอบศึกษา 2/3 CM.3205 สิ่งพิมพ์โฆษณา ประชาสัมพันธ์ CM สิ่งพิมพ์-ดิจิตอล การตลาด เพื่อการโฆษณา และประชาสัมพันธ์ -สร้าง รักษา ภาพลักษณ์ (Image) Org., Product, Service -ส่งเสริม สนับสนุน การขาย -ทำแผนการโฆษณาประชาสัมพันธ์ -จัดระบบนิเวศองค์กร/สุขภาวะ -มุ่งพัฒนาศักยภาพ คุณภาพ คน องค์กร ภาคี เครือข่าย เพื่อการตลาด (IMC) -เพิ่มยอดขาย/กำไร Product Lift Cycle -ใช้กลยุทธ์ Strategies -ใช้เครื่องมือการสื่อสาร Communication Tools : Ad, Pr, SP, DM, PS, -ส่วนผสมทางการตลาด : 4P1C, 8P, 4P>5C -ทำแผนการตลาด/วิเคราะห์การตลาด ทฤษฎีความพอเพียง Theory of Fairly Good ตามแนวพระราชดำริ พระเจ้าอยู่หัว ร.9 ทฤษฎีบริโภคนิยม Mass Consumption CM Print media Production for Advertising and Public Relations

8 CM.3205 สิ่งพิมพ์โฆษณา ประชาสัมพันธ์ CM.4204 สิ่งพิมพ์-ดิจิตอล การตลาด
กรอบศึกษา 3/3 CM.3205 สิ่งพิมพ์โฆษณา ประชาสัมพันธ์ CM สิ่งพิมพ์-ดิจิตอล การตลาด อุปกรณ์ ช่องทางการเรียนรู้ -วัตถุดิบ และเครื่องมือการผลิตสิ่งพิมพ์ -โปรแกรมคอมพิวเตอร์ Software Word: MS Office (Word, Powerpoint) DTP: Adobe Pagemaker Retouching: Adobe Photoshop Drawing: CorrelDRAW!, Illustrator -วัตถุดิบ และเครื่องมือการผลิตสื่อดิจิตอล -โปรแกรมคอมพิวเตอร์ Software Word: MS Office (Word, Powerpoint) DTP: Adobe Pagemaker Retouching: Adobe Photoshop Drawing: CorrelDRAW!, Illustrator Video editing: Premeer, Vegus, Maya Audio editing: Audition Web Design: Dreamweaver CM Print media Production for Advertising and Public Relations

9 เครื่องมือ - เทคโนโลยี เทคนิค - รูปแบบการส่งสาร ภาษาพูด Word, Speech
นำสู่บทเรียน: ความสัมพันธ์ระหว่างสื่อ (media) กับช่องทางการสื่อสาร (channel) รูปแบบ ชนิด ของสาร พาหะ - ช่องทาง เครื่องมือ - เทคโนโลยี เทคนิค - รูปแบบการส่งสาร ภาษาพูด Word, Speech บรรยากาศ อากาศ วัตถุที่สามารถพาเสียงไปได้ อวัยวะปาก, ไมโครโฟน, โทรโข่ง Physical, Radiogram, Analog, Digital ภาษาท่าทาง Action, Behavior ทัศนวิสัยของบรรยากาศ อวัยวะ, อุปกรณ์สร้างสัญลักษณ์ Physical ภาษาเขียน Writing อักขระ อักษร (ที่ผู้ส่งและผู้รับ สามารถรับรู้ร่วมกันได้) กระดาษ ปากกา หมึก หรือสี คอมพิวเตอร์ Physical, Analog, Digital CM Print media Production for Advertising and Public Relations

10 ความหมายและบริบทของธุรกิจ 1/5
ความหมายและบริบทของธุรกิจ 1/5 ความหมายและโครงสร้างของ แผนธุรกิจ 1. ทุน และ ทรัพยากร 1.1 ทรัพยากรวัตถุ และธรรมชาติ ประกอบด้วย -วัตถุดิบ-บริสุทธิ์ (raw material) -วัตถุดิบ-เวียนใหม่ (recycle material และรวมถึง reject, reuse, reform) -วัตถุแปรรูป (modify material) -วัตถุสำเร็จรูป (commodity) -วัตถุที่มีสิทธิครอบครองได้โดยธรรมชาติ (แผ่นดิน, อากาศ, แสงแดด, น้ำตามแหล่งธรรมชาติ -วัตถุที่มีลิขสิทธิ์ หรือมีสิทธิครอบครองตามที่กฎหมาย 1.2 ทรัพยากรบุคคล CM Print media Production for Advertising and Public Relations

11 ความหมายและบริบทของธุรกิจ 2/5
ความหมายและบริบทของธุรกิจ 2/5 ความหมายและโครงสร้างของ ธุรกิจ 1. ทุน และ ทรัพยากร 1.3 ทรัพยากรเงินลงทุน (budget) 1.4 ทรัพยากรเวลา และความรัก 1.5 ทรัพยากรการสื่อสาร ประกอบด้วย -แบบจำลองการสื่อสาร และทฤษฎีการสื่อสาร -สื่อ และสื่อสารมวลชน -องค์ประกอบและคุณสมบัติของทรัพยากรการสื่อสาร (place, position, time, quality message, access & connect, attention, motion) 2. การใช้อำนาจ และการตอบสนองต่อการใช้อำนาจ 2.1 ระบบธนาธิปไตย 2.2 ระบบประชาธิปไตย 2.3 ระบบอัตตาธิปไตย 2.4 ระบบธรรมาธิปไตย CM Print media Production for Advertising and Public Relations

12 ความหมายและบริบทของธุรกิจ 3/5
ความหมายและบริบทของธุรกิจ 3/5 ความหมายและโครงสร้างของ ธุรกิจ 1. ทุน และ ทรัพยากร 2. การใช้อำนาจ และการตอบสนองต่อการใช้อำนาจ 3. การใช้ทักษะการบริหาร การจัดการทรัพยากร หลัก 5M คือ Man Material Money Management Manufactory 4. การแสวงผลกำไรจากการลงทุน (quite profitable) โดยใช้การสื่อสารการตลาด (IMC) เป็นเครื่องมือในการสร้างกำไร 3 ระดับ 4.1 กำไรของทุนนิยม ตามหลักเศรษฐศาสตร์ทุนนิยม 4.2 กำไรของพหุชนนิยม หรือ เศรษฐศาสตร์ทางสายกลาง (ทฤษฎีพอเพียง KingRAMA9) 4.3 กำไรของบุญนิยม ตามหลักเศรษฐศาสตร์บุญนิยม หรือเศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ 5. การบริโภค (consumption) เป็นพฤติกรรมการอยู่รอดของมนุษย์ ในทางสังคมถือว่าการบริโภค การกินการใช้ เป็นปัจจัยหนึ่งของการดำรงชีวิต แต่เป็นปัจจัยหลักของการดำเนินธุรกิจ เพราะผู้บริโภคคือเป้าหมายหลักของธุรกิจ CM Print media Production for Advertising and Public Relations

13 ความหมายและบริบทของธุรกิจ 4/5
ความหมายและบริบทของธุรกิจ 4/5 ความหมายและโครงสร้างของ ธุรกิจ 1. ทุน และ ทรัพยากร 2. การใช้อำนาจ และการตอบสนองต่อการใช้อำนาจ 3. การใช้ทักษะการบริหาร การจัดการทรัพยากร 4. การแสวงผลกำไรจากการลงทุน (quite profitable) 5. การบริโภค (consumption) บริโภค “แบบสวาปาม” (mass consumption) เป็นการบริโภคที่คนระดับนายทุน เป็นผู้กำหนดให้แก่คนระดับผู้บริโภค บริโภค “แบบพอประมาณ” (fairly good consumption) เป็นพฤติกรรมการบริโภคมาจากผลกระทบของระบบบริโภคนิยม ซึ่งทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค ต่างมีจิตสำนึกร่วมกันรับผิดชอบทางสังคม บริโภค “แบบพึ่งพา” (inhabitable consumption) เป็นพฤติกรรมการบริโภคของกลุ่มคนที่รู้คุณค่า สาระของชีวิต จิตวิญญาณ และสิ่งแวดล้อม CM Print media Production for Advertising and Public Relations

14 ความหมายและบริบทของธุรกิจ 5/5
ความหมายและบริบทของธุรกิจ 5/5 ความหมายและโครงสร้างของ ธุรกิจ 1. ทุน และ ทรัพยากร 2. การใช้อำนาจ และการตอบสนองต่อการใช้อำนาจ 3. การใช้ทักษะการบริหาร การจัดการทรัพยากร 4. การแสวงผลกำไรจากการลงทุน (quite profitable) 5. การบริโภค (consumption) 6. การสร้างทุน และพัฒนาทุน ปัญหาจากการบริโภคแบบสวาปาม นำไปสู่การแก้ไขปัญหาโดยการ (1) ลดทอนปัญหาให้เกิดน้อยลง (2) สร้างสิ่งทดแทน นั้นคือเกิดการสร้างทุน และพัฒนาทุน ธุรกิจการเมือง การปกครอง ธุรกิจการเงิน การคลัง ธุรกิจการซื้อขาย ธุรกิจการบริหารจัดการ ธุรกิจการสื่อสาร ธุรกิจการส่งเสริมและการพัฒนา ธุรกิจบุญนิยม ที่มา: บทความ "การสื่อสารการพัฒนาวิชาชีพทางธุรกิจ" จาก CM Print media Production for Advertising and Public Relations

15 การสื่อสารการตลาดระบบทุนนิยม 1/10
การสื่อสารการตลาดระบบทุนนิยม 1/10 สิ่งที่เกี่ยวข้องกับการตลาด หมายถึงราคา (price) ผลผลิต (output) และ การแข่งขัน (competition) ซึ่งอาศัยโครงสร้างของการตลาด (market structures) มาอธิบาย ว่า ราคาสินค้าเกิดจากการแลกเปลี่ยนความต้องการระหว่างฝ่ายผู้ซื้อและฝ่ายผู้ขาย การสื่อสารการตลาดจะมีบทบาทมากที่สุด ในการไปกระตุ้น “ความอยาก” ของผู้บริโภค ในยุคก่อน ตลาด หมายถึง สถานที่แลกเปลี่ยนซื้อขายสินค้าและบริการ ระหว่างฝ่ายผู้ ซื้อ และฝ่ายผู้ขาย และมีการตกลงซื้อขายกัน ส่งมอบสินค้าและราคากัน แต่ตลาด ในยุคการสื่อสารไร้พรมแดน (globalization information technology) ทำให้ ความหมายของตลาดเปลี่ยนแปลงไป โดยคำนึงถือการ “ตกลง” ซื้อขายกัน โดย ฝ่ายผู้ซื้อและฝ่ายผู้ขายไม่ต้องเห็นหน้ากันก็ได้ เพียงแต่อาศัยระบบการสื่อสารเป็น เครื่องมือ ระบบธุรกิจทุนนิยม อาศัยระบบการสื่อสารเป็นเครื่องมือและกลไกในการดำเนินธุรกิจ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงทำให้เกิดส่วนผสมระหว่างการสื่อสารกับการตลาด (Integrated marketing communication: IMC) CM Print media Production for Advertising and Public Relations

16 การสื่อสารการตลาดระบบทุนนิยม 2/10
การสื่อสารการตลาดระบบทุนนิยม 2/10 1. บริบทของการสื่อสารการตลาด (marketing communication factor) 1.1 แบบจำลองการสื่อสารการตลาด (Marketing Model Communication) ได้แก่ ส่วนผสมขององค์ประกอบของการสื่อสารและโครงสร้างการตลาด 1.2 การสื่อสารองค์กร (Organization Communication) 1.3 หลักเศรษฐศาสตร์ ของอุปสงค์และอุปทาน (Demand & Supply) และ กฎการ ลดลองของอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้าย (law of diminishing marginal utility) ตามทฤษฎีอรรถประโยชน์ (marginal utility theory) ซึ่งกล่าวไว้ว่า ความพึง พอใจในสินค้าของผู้บริโภคจะค่อยๆ ลดน้อยลง เมื่อได้รับสินค้านั้นเพิ่มขึ้น 1.4 การบริหารบุคลากร และทุน (Management Person & Capital) 1.5 การวิเคราะห์ และ การใช้กลยุทธ์ (Analysis & Strategy) 1.6 การวางแผน และการรณรงค์ (Planning & Campaign) CM Print media Production for Advertising and Public Relations

17 การสื่อสารการตลาดระบบทุนนิยม 3/10
การสื่อสารการตลาดระบบทุนนิยม 3/10 2. กระบวนการสื่อสารการตลาด (Marketing Communication) 2.1 ปัจจัยนำข้า (Input) 2.1.1 เครื่องมือทางการตลาด (Marketing Tools) ตัวสินค้า (Product) ซึ่งรวมถึง ตัวสินค้าและบรรจุภัณฑ์ (Packaging), ฉลากสินค้า (Label), ภาพตราสินค้า (Brand name) ราคา (Price) ราคาอาจเป็นตัวกำหนดภาพลักษณ์ของสินค้า (Image of Product) นั้นก็ได้ และมีผลต่อการตั้งราคาขายด้วย ซึ่งคำนึงถึงผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมาย สถานที่วางจำหน่ายสินค้า (Place) จะเป็นตัวกำหนดสภาวะแวดล้อมให้แก่สินค้านั้น ซึ่งจะมีผลต่อการกำหนดราคาด้วย (Environment of Product) การส่งเสริมการขาย (Promotion) ก็มีความจำเป็น เพื่อเพิ่มยอดขายให้แก่สินค้านั้น เป็นการแข่งขันทางการตลาด จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมี promotion การสื่อสาร (Communication) นับเป็นปัจจัยหลักในการส่งเสริมการตลาด เพราะในยุคที่มีการแข่งขันทางการตลาดสูง การสื่อสารก็ยิ่งมีความจำเป็นมากเท่านั้น โดยเฉพาะการโฆษณาขาย (advertising) CM Print media Production for Advertising and Public Relations

18 การสื่อสารการตลาดระบบทุนนิยม 4/10
การสื่อสารการตลาดระบบทุนนิยม 4/10 2. กระบวนการสื่อสารการตลาด (Marketing Communication) 2.1 ปัจจัยนำข้า (Input) communication tool (เครื่องมือการสื่อสาร) source (วัตถุดิบทางการสื่อสาร) event (สถานการณ์ทางการสื่อสาร) product information expression with price message vividness place medium vivacity promotion channel emotional politics receiver creativity public opinion effect need-appeal people feedback activity period timing interaction theatrical art CM Print media Production for Advertising and Public Relations

19 การสื่อสารการตลาดระบบทุนนิยม 5/10
การสื่อสารการตลาดระบบทุนนิยม 5/10 2. กระบวนการสื่อสารการตลาด (Marketing Communication) 2.1 ปัจจัยนำข้า (Input) เครื่องมือทางการสื่อสาร (Communication Tools) ที่รู้จักกันดี ได้แก่ การประชาสัมพันธ์ (PR.&P: Public Relations & Publicity) การโฆษณา (AD.: Advertising) การส่งเสริมการขาย (SP.: Sale Promotion) การขายโดยผ่านพนักงานขาย (PS.: Personal Selling) การขายตรง (DM.: Direct Marketing) การขายโดยพูดปากต่อปาก (Word of Mouth) CM Print media Production for Advertising and Public Relations

20 การสื่อสารการตลาดระบบทุนนิยม 6/10
การสื่อสารการตลาดระบบทุนนิยม 6/10 2. กระบวนการสื่อสารการตลาด (Marketing Communication) 2.1 ปัจจัยนำข้า (Input) 2.2 กระบวนการทางการสื่อสาร (Communication Process) ผู้ส่งสาร (Sender) หมายถึง องค์การ (Organization) ผู้แทนองค์การ (Agency) บุคคล (Person) สาร (Message) ลักษณะทางกายภาพ (physical) และมูลค่า (value) ปัจจัยทำให้สารเปลี่ยนแปลง คือ (1) ปัจจัยในความเป็นสาระ (Content Message) เช่น ข้อความ (Text), มีความเป็นศิลปะ (Art), และเคลื่อนไหวได้ (Animation) (2) ปัจจัยที่เป็นภาวะแวดล้อม (Context Message) เช่น ตำแหน่งของภาพลักษณ์สินค้า (Position), ผู้ผลิต-ผู้บริโภค (Person), สถานที่ (Place), ช่วงเวลา (Time), โอกาส (Opportunity), ความถี่ในการนำเสนอสาร (Frequency) ช่องทางการสื่อสาร (Channel) ของการดำเนินธุรกิจ ได้แก่ สื่อ (Media), (บุคคล หรือสื่อบุคคล (Person), และเหตุการณ์ (Events) ที่กำหนดขึ้น CM Print media Production for Advertising and Public Relations

21 การสื่อสารการตลาดระบบทุนนิยม 6/10
การสื่อสารการตลาดระบบทุนนิยม 6/10 2. กระบวนการสื่อสารการตลาด (Marketing Communication) 2.1 ปัจจัยนำข้า (Input) 2.2 กระบวนการทางการสื่อสาร (Communication Process) ลูกค้า-ผู้บริโภค ผู้รับสาร (Receiver) แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม คือ (1) กลุ่มผู้แนะนำสินค้า-บริการ (Initiator) ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่เคยใช้สินค้านั้นมาก่อน (2) กลุ่มผู้มีอิทธิพลในการซื้อ (Influence) กลุ่มนี้อาจมิใช่ผู้ซื้อโดยตรงก็ได้ (3) กลุ่มผู้ตัดสินใจซื้อ (Decision Maker) เป็นกลุ่มบุคคลที่อยู่เป้าหมายหลัก (4) กลุ่มผู้ซื้อ (Buyer) เป็นกลุ่มที่ทำให้การซื้อขายกันจริงๆ (5) กลุ่มผู้ใช้สินค้า (User) เป็นกลุ่มที่จะให้คำตอบสุดท้ายว่า ธุรกิจการขายนั้นประสบผลสำเร็จหรือล้มเหลว CM Print media Production for Advertising and Public Relations

22 การสื่อสารการตลาดระบบทุนนิยม 7/10
การสื่อสารการตลาดระบบทุนนิยม 7/10 2. กระบวนการสื่อสารการตลาด (Marketing Communication) 2.1 ปัจจัยนำข้า (Input) 2.2 กระบวนการทางการสื่อสาร (Communication Process) ลูกค้า-ผู้บริโภค ผู้รับสาร (Receiver) แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม คือ (1) กลุ่มผู้แนะนำสินค้า-บริการ (Initiator) ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่เคยใช้สินค้านั้นมาก่อน (2) กลุ่มผู้มีอิทธิพลในการซื้อ (Influence) กลุ่มนี้อาจมิใช่ผู้ซื้อโดยตรงก็ได้ (3) กลุ่มผู้ตัดสินใจซื้อ (Decision Maker) เป็นกลุ่มบุคคลที่อยู่เป้าหมายหลัก (4) กลุ่มผู้ซื้อ (Buyer) เป็นกลุ่มที่ทำให้การซื้อขายกันจริงๆ (5) กลุ่มผู้ใช้สินค้า (User) เป็นกลุ่มที่จะให้คำตอบสุดท้ายว่า ธุรกิจการขายนั้นประสบผลสำเร็จหรือล้มเหลว CM Print media Production for Advertising and Public Relations

23 การสื่อสารการตลาดระบบทุนนิยม 8/10
การสื่อสารการตลาดระบบทุนนิยม 8/10 2. กระบวนการสื่อสารการตลาด (Marketing Communication) 2.1 ปัจจัยนำข้า (Input) 2.2 กระบวนการทางการสื่อสาร (Communication Process) 2.3 ผลผลิต (Output) คือ เป้าหมายสำคัญของตลาด (1) ให้เกิดการซื้อขายสินค้า-บริการ (2) ให้เกิดกำไรสูงสุด ปัจจัยที่จะทำให้เกิดผลทางการตลาดดังกล่าว คือ การกระตุ้นสิ่งต่อไปนี้ ไปยังผู้บริโภคให้ผู้บริโภคตอบสนอง (1) ความรู้ในตัวสินค้า (Knowledge) เพื่อเป็นฐานนำไปสู่… (2) การโน้มน้าวใจ (Persuasion) ให้เห็นว่าสินค้านี้มีความจำเป็น แล้วเกิด… (3) การตัดสินใจ (Decision) ที่จะซื้อสินค้านั้นมาทดลองใช้ หรือพิสูจน์ว่าสินค้านั้น สนองตอบต่อความคาดหวังเพียงใด (4) การตกลงปลงใจเลือกสินค้านั้น (Confirmation) ซึ่งก่อให้เกิดความจงรักภักดี ต่อสินค้านั้น นำไปสู่ ความจงรักภักดีต่อ brand name ด้วย CM Print media Production for Advertising and Public Relations

24 การสื่อสารการตลาดระบบทุนนิยม 9/10 เปรียบเทียบการใช้เครื่องมือการสื่อสารการตลาด จาก Modeling Communication Communication Tool Sender Message Channel Receiver Feedback Public Relations: PR. Organization, Agency, Person Promotion Information PR. for AD. Media Person Event Labour-Aglicultur Employee-Middle Political Person Mass Media Communication Knowledge ความรู้ Attitude ทัศนคติ Practice ลงมือปฏิบัติ Advertising: AD. Selling Message AD. for PR. Media Initiator (ผู้บอก) Influence (ผู้มีอิทธิพลซื้อ) Decision Maker (ผู้ตัดสินใจซื้อ) Buyer (ผู้ซื้อ) User (ผู้ใช้สินค้า) Awareness รับรู้ได้ Acceptance ยอมรับ Trial ทดลองใช้ Brand Users ตัดสินใจใช้ Sales Promotion: SP. Promotion Message Sampling Product Media Person Initiator Influence Decision Maker Buyer* User* Direct Marketing: DM. Agency, Person Product Information Promotion Message (+ detail) Media (Direct Media) Initiator Influence Decision Maker* Buyer* User CM Print media Production for Advertising and Public Relations

25 การสื่อสารการตลาดระบบทุนนิยม 10/10 เปรียบเทียบ PR. AD. และ IMC
Target Public Relations Advertising Integrated Marketing Communication วัตถุประสงค์ เพื่อ Image เพื่อยอดขาย เพื่อเพิ่มยอดขาย + กำไร สื่อ ไม่ต้องใช้ Media ใช้ Media จำเป็นต้องออกสื่อ ลักษณะ เป็นบริการ มิใช่สินค้า เป็นสินค้า (มีแผนโฆษณา) เป็นส่วนประกอบของสินค้า ประเมินผล หวังผลระยะยาว หวังผลระยะสั้น หวังผลตามแผน งบประมาณ งบประมาณน้อย งบประมาณสูง งบประมาณตามแผน CM Print media Production for Advertising and Public Relations


ดาวน์โหลด ppt ชื่อวิชา การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์งานโฆษณาและ ประชาสัมพันธ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google