งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
ชุลีพร จิระพงษา พจมาน ศิริอารยาภรณ์

2 ภาพรวมของการทำงาน/เครื่องมือ
อสม./เครือข่าย* แจ้งข่าว “แนวทางการแจ้งเหตุผิดปกติฯ” “ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาดฯ” ตำบล ตรวจสอบ “แนวทางตรวจสอบข่าวการระบาด” อำเภอ สอบสวน วิทยากร/พี่เลี้ยง *เครือข่าย หมายถึง อบต. เทศบาล สื่อมวลชน ครู ผู้นำ ประชาชนในพื้นที่

3 Communication and Training การสื่อสาร และ การสอน
One-way Two-way

4 คำถามที่น่าถาม ให้แจ้งข่าวหรือรายงานโรคไปเพื่ออะไร?
1 จะให้แจ้งโรค หรือ แจ้งกลุ่มอาการอะไรบ้าง? 2 เมื่อไหร่ถึงควรจะแจ้ง? 3 นอกจากการแจ้งข่าวแล้ว เขาควรทำอะไรอีก? 4 แล้วเราจะตอบสนองต่อข่าวที่ได้รับแจ้งอย่างไรดี? 5

5 “ทุกเหตุรายงาน มีความหมาย ต้องตอบสนอง”
“ทุกเหตุรายงาน มีความหมาย ต้องตอบสนอง”

6 แนวทาง “การแจ้งเหตุผิดปกติด้านสาธารณสุข” โดย อสม.และอบต.
แนวทาง “การแจ้งเหตุผิดปกติด้านสาธารณสุข” โดย อสม.และอบต. กลุ่ม อาการพบบ่อย ให้แจ้งเมื่อ กิจกรรมที่ควรดำเนินการ 1. อาการผิดปกติของทางเดินอาหาร อาเจียนมาก หรือ ถ่ายเป็นน้ำ 1 ครั้ง หรือ ถ่ายเหลวตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไปใน 1 วัน - ผู้ป่วยตั้งแต่ 2 รายจากชุมชน/สถานที่เดียวกัน (เช่น โรงเรียน โรงงาน หมู่บ้าน) ภายใน 1 วัน - ผู้ป่วยที่เสียชีวิต หรือ ช็อค - ส่งข่าวให้ รพ.สต. (สอ.) ภายใน 1 วัน - เก็บอาหารที่สงสัย ไว้ในตู้เย็น เพื่อส่งตรวจหาเชื้อโรคต่อไป - ถ้าอาการไม่มากให้ดื่มน้ำเกลือแร่ ปริมาณเท่ากับที่ถ่ายหรืออาเจียนออกไป - ถ้าอาการหนัก ให้ส่งสถานพยาบาล

7 แนวทาง “การแจ้งเหตุผิดปกติด้านสาธารณสุข” โดย อสม.และอบต.
แนวทาง “การแจ้งเหตุผิดปกติด้านสาธารณสุข” โดย อสม.และอบต. กลุ่ม อาการ ให้แจ้งเมื่อ กลุ่มกิจกรรมที่ควรดำเนินการ 2. อาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ไข้สูง ไอ เจ็บคอ มีน้ำมูก หายใจลำบาก หรือ หอบ - ผู้ป่วยที่เสียชีวิต - ผู้ป่วยที่สงสัยไข้หวัดนกทุกราย - ผู้ป่วยที่มาจากชุมชนเดียวกัน ตั้งแต่ 2 ราย ใน 1 สัปดาห์ - ส่งข่าวให้ รพ.สต. (สอ.) ภายใน 1 วัน - แยกผู้ป่วยออกจากผู้อื่น ประมาณ 1 สัปดาห์ - แยกสิ่งของเครื่องใช้ของผู้ป่วย - ให้ผู้ป่วยสวมหน้ากากอนามัย เมื่ออยู่ใกล้ผู้อื่น - หากผู้ป่วยเป็นกลุ่มเสี่ยง เช่น หญิงตั้งครรภ์ คนอ้วนมาก มีโรคประจำตัว แนะนำให้ไปหาหมอ - หากไม่ใช่กลุ่มเสี่ยง แต่มีไข้สูงติดต่อกัน 2 วันหรือเริ่มมีอาการเหนื่อย แนะนำให้ไปหาหมอ - คนใกล้ชิด ให้สังเกตอาการตนเอง 1 สัปดาห์ ถ้าเริ่มป่วยให้ปฏิบัติเหมือนผู้ป่วย

8 แนวทาง “การแจ้งเหตุผิดปกติด้านสาธารณสุข” โดย อสม.และอบต.
แนวทาง “การแจ้งเหตุผิดปกติด้านสาธารณสุข” โดย อสม.และอบต. กลุ่มอาการ อาการ ให้แจ้งเมื่อ กิจกรรมที่ควรดำเนินการ 3. ไข้เลือด ออก ไข้สูงติดต่อกันหลายวัน เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องอืด มีจุดเลือดออกตามตัว อาจมีซึมหรือช็อค - ผู้ป่วยที่เสียชีวิต - ผู้ป่วยกลุ่มแรกของชุมชน ในระยะเวลา 28 วัน - ส่งข่าวให้ รพ.สต. (สอ.) ภายใน 1 วัน - เช็ดตัวลดไข้ และแนะนำให้ไปหาหมอ - ป้องกันยุงกัดผู้ป่วย โดยทายากันยุงและนอนในมุ้งทั้งกลางวันและกลางคืน เพื่อไม่ให้แพร่เชื้อไปยังคนอื่น - ค้นหาว่ามีผู้ป่วยรายอื่นในชุมชนในช่วง 2-3 สัปดาห์ก่อนหน้านั้น เพื่อกำหนดพื้นที่ที่ต้องควบคุมโรค - สำรวจค่าดัชนีความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายในรัศมี 100 เมตรรอบบ้านผู้ป่วย และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง

9 แนวทาง “การแจ้งเหตุผิดปกติด้านสาธารณสุข” โดย อสม.และอบต.
แนวทาง “การแจ้งเหตุผิดปกติด้านสาธารณสุข” โดย อสม.และอบต. กลุ่มอาการ อาการที่พบบ่อย ให้แจ้งเมื่อ กิจกรรมที่ควรดำเนินการ 4. ไข้ออกผื่น ไข้ และมีผื่นตามร่างกาย อาจมีไอ น้ำมูกร่วมด้วย - ผู้ป่วยที่เสียชีวิต - มีผู้ป่วยที่มาจากชุมชนเดียวกัน (เช่น โรงเรียน โรงงาน หมู่บ้าน) ตั้งแต่ 2 ราย ใน 2 สัปดาห์ - ส่งข่าวให้ รพ.สต. (สอ.) ภายใน 1 วัน - แยกผู้ป่วยออกจากผู้อื่น ประมาณ 1 สัปดาห์ หรือหมดระยะติดต่อของโรค - แยกสิ่งของเครื่องใช้ของผู้ป่วย - ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสอบสวนหาสาเหตุ

10 แนวทาง “การแจ้งเหตุผิดปกติด้านสาธารณสุข” โดย อสม.และอบต.
แนวทาง “การแจ้งเหตุผิดปกติด้านสาธารณสุข” โดย อสม.และอบต. กลุ่มอาการ อาการ ให้แจ้งเมื่อ กิจกรรมที่ควรดำเนินการ 5. ไข้และการรับรู้ตัวเปลี่ยนแปลง ไข้สูงเฉียบพลัน ปวดศีรษะมาก การรับรู้ตัวเปลี่ยนแปลง (สับสน ชัก ซึม หรือ หมดสติ) - ผู้ป่วยทุกราย - ส่งข่าวให้ รพ.สต. (สอ.) ภายใน 1 วัน - ระวังไม่ให้โดนน้ำลาย หรือ เสมหะของผู้ป่วย - แนะนำให้ส่งผู้ป่วยไปโรงพยาบาล เนื่องจากอาจเป็นโรคติดต่อร้ายแรง

11 แนวทาง “การแจ้งเหตุผิดปกติด้านสาธารณสุข” โดย อสม.และอบต.
แนวทาง “การแจ้งเหตุผิดปกติด้านสาธารณสุข” โดย อสม.และอบต. กลุ่มอาการ อาการที่พบบ่อย ให้แจ้งเมื่อ กิจกรรมที่ควรดำเนินการ 6. โรค ติดต่อระหว่างสัตว์และคน – โรคพิษสุนัขบ้า ไข้ ปวดศีรษะ ปวดตัว กลัวน้ำ กลัวลม ระดับการรับรู้ตัวผิดปกติ – โรคไข้ฉี่หนู ปวดศีรษะเฉียบพลัน ไข้สูง ปวดกล้ามเนื้อมากโดยเฉพาะบริเวณน่อง อาการอาจไม่ชัดเจน - ผู้ป่วยที่สงสัยโรคพิษสุนัขบ้าทุกราย - ผู้ป่วยสงสัยไข้ฉี่หนู ที่มาจากหมู่บ้านเดียวกันตั้งแต่ 2 รายในระยะ 2 สัปดาห์ หรือหลังการเกิดอุทกภัย - ส่งข่าวให้ รพ.สต. (สอ.) ภายใน 1 วัน - ค้นหาผู้ที่ถูกสัตว์ที่สงสัยกัด หรือผู้ป่วยรายอื่น เพื่อแนะนำให้ไปหาหมอ - แจ้งปศุสัตว์ เพื่อมาจัดการสัตว์ตัวที่สงสัยให้เหมาะสม - ประสานการสอบสวนโรค - แนะนำให้ไปรับการรักษา พร้อมกับบอกหมอเรื่องประวัติเสี่ยง

12 แนวทาง “การแจ้งเหตุผิดปกติด้านสาธารณสุข” โดย อสม.และอบต.
แนวทาง “การแจ้งเหตุผิดปกติด้านสาธารณสุข” โดย อสม.และอบต. กลุ่มอาการ อาการ ให้แจ้งเมื่อ กิจกรรมที่ควรดำเนินการ 7. อาการป่วยคล้ายๆกันหลายราย หรือ เสียชีวิตเฉียบพลัน โดยไม่ทราบสาเหตุ -- - ผู้ที่เสียชีวิตทุกราย - ทุกเหตุการณ์ที่มีผู้มาจากชุมชนเดียวกัน มีอาการป่วยคล้ายคลึงกัน เป็นจำนวนมากผิดปกติ - ส่งข่าวให้ รพ.สต. (สอ.) ทันที - ประสานการสอบสวนโรค 8. เหตุการณ์ผิดปกติที่อาจมีผลเสียต่อสุขภาพ - ส่งข่าวให้ รพ.สต. (สอ.) และ อบต หรือเทศบาลตำบลทราบ ภายใน 2-3 วัน แล้วแต่เหตุการณ์

13 “ทุกเหตุรายงาน มีความหมาย ต้องตอบสนอง”
“ทุกเหตุรายงาน มีความหมาย ต้องตอบสนอง”

14 “ทุก Notification ต้องมี Response”
คำนวณ อึ้งชูศักดิ์

15 ประชากร วัตถุประสงค์ สิ่งที่คาดหวัง
ประชากร วัตถุประสงค์ สิ่งที่คาดหวัง อสม. และเครือข่าย จนท. รพสต. SRRT อำเภอ แจ้งข่าว ตรวจสอบ สอบสวน รู้เร็ว รายงานเร็ว ควบคุมเร็ว

16 คำถาม ความเห็น ข้อแนะนำ?
คำถาม ความเห็น ข้อแนะนำ?


ดาวน์โหลด ppt เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google