งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทบาทและแนวทางในการพัฒนา ทีม SRRT ต่อการควบคุมภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทบาทและแนวทางในการพัฒนา ทีม SRRT ต่อการควบคุมภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทบาทและแนวทางในการพัฒนา ทีม SRRT ต่อการควบคุมภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
นายแพทย์ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี

2 ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขที่เกิดขึ้น อาทิเช่น
ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขที่เกิดขึ้น อาทิเช่น ไข้หวัดนก การติดเชื้อ Strep. suis Pandemic ไข้หวัดใหญ่ คอตีบ ไข้เลือดออกระบาด อุทกภัย ดินโคลนถล่ม เครื่องบินตก อุบัติเหตุบนถนน ภัยแล้ง ภัยหนาว แผ่นดินไหว สึนามิ ไฟป่า มลภาวะ การก่อการร้าย จลาจล ความไม่สงบ สงคราม

3 ทีม SRRT (Surveillance and Rapid Response Team)
ต้องรู้ไว ปฏิบัติการเร็ว และให้ข้อเสนอแนะได้ว่าต้องทำอะไรต่อ

4 ยุทธศาสตร์การพัฒนาทีม SRRT
การพัฒนานโยบาย ยุทธศาสตร์ และการส่งเสริมสนับสนุน การพัฒนาบุคลากร ทั้งการฝึกอบรมและ การพัฒนาระหว่างงาน (On the job traininig) การพัฒนากระบวนการปฏิบัติงาน ด้านการเฝ้าระวัง สอบสวนโรคและควบคุมโรคขั้นต้น การพัฒนาเครือข่ายทีม SRRT

5 SRRT Roadmap Professional SRRT หมายถึง ทีมที่ผ่านมาตรฐานระดับดีเยี่ยม
: One province – One district professional SRRT : One district – One successful operation : One province – One successful operation 2549 : One SRRT – One operation 2548 : One district – One SRRT Professional SRRT หมายถึง ทีมที่ผ่านมาตรฐานระดับดีเยี่ยม

6 Responsibility of SRRT
• District routine & common outbreak (small scale) • Province routine & common outbreak (large scale & more severe) • Region uncommon outbreak • Country uncommon outbreak (import)

7 ทีม SRRT ในความคาดหวัง
ทีมงานสาธารณสุขที่ มีความพร้อมทางด้านโครงสร้าง บุคลากร เทคโนโลยี งบประมาณ ยานพาหนะ ผ่านการฝึกอบรมและเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริงตามมาตรฐาน มีขีดความสามารถสูง เป็นกำลังหลักในการควบคุมปัญหาโรคระบาดและภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขอื่น ๆ ได้รับการสนับสนุนอย่างดีเยี่ยมทางห้องปฏิบัติการ และเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง

8 ทีม SRRT ในความคาดหวัง
มีหน่วยเฝ้าระวังสอบสวนฯในทุกระดับของหน่วยงานสาธารณสุข โรงพยาบาลชุมชน, โรงพยาบาลทั่วไป สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ หน่วยงานสาธารณสุขของส่วนราชการอื่น และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบจ., เทศบาล) มีบุคลากรทำงานเฝ้าระวังเต็มเวลาอย่างน้อย 2 คนที่หน่วยระดับตำบล/อำเภอ (หรือเทียบเท่า) 3 คนที่หน่วยระดับจังหวัด (หรือเทียบเท่า)

9 ทีม SRRT ในความคาดหวัง
ได้รับการสนับสนุนการตรวจเร่งด่วนทางห้องปฎิบัติการ มีการทำงานประสานเป็นเครือข่ายกับหน่วยงานทั้งด้านสาธารณสุขและอื่น ๆในพื้นที่

10 ความคาดหวังในปีนี้ แต่ละจังหวัด มีทีม SRRT ระดับอำเภอที่ผ่านมาตรฐานในระดับดีเยี่ยมได้สำเร็จอย่างน้อยหนึ่งแห่ง (One Province - One district professional SRRT)

11 ติดอาวุธ SRRT ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt บทบาทและแนวทางในการพัฒนา ทีม SRRT ต่อการควบคุมภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google