งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Guideline for owlation induction in anovulatory Pcos

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Guideline for owlation induction in anovulatory Pcos"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Guideline for owlation induction in anovulatory Pcos
พ.ญ.มัธชุพร สุขประเสริฐ นพ.ศรีเธียร เลิศวิกูร พ.ญ.ชุติมา โตพิพัฒน์

2 Recommondation ACOG Ia. meta-analysis of randomised controlled trials.
Ib. at least one randomised controlled trial. IIa. at least one well-designed controlled study without randomisation. IIb. at least one other type of well-designed quasi-experimental study. III. well-designed non-experimental descriptive studies. IV. Expert commmittee reports or opinions and/or clinical experience.

3 Recommondation ACOG Requires at least one randomised controlled trial.
(Evidence levels Ia , Ib) B. Requires the availlability of well controlled clinical stydies but no randomised clinical trials. (Evidence levels IIa , IIb , III) C. Requires evidence obtained from expert committee or opinions. (Evidence levels IV)

4 Problem of infertility in PCOS
Mostly : Anowlation

5 Steb 1 Steb 2 Steb 3 Steb 4 Step for Mx strategies of PCOS
Life style modification. Steb 2 Medication for owlation mduction. Steb 3 Gunadotropins vs LOD. Steb 4 I V F

6 STEB 1 Life style Modification
Diet Exercise Medication & Bariatnc Sx Antiobesity

7 ตารางที่ 1 ผลของการรักษาด้วยยา Clomiphene citrate
การศึกษา จำนวนผู้ป่วย การตกไข่ การตั้งครรภ์ McGregor และคณะ 4,098 2,869 1,393 Garcia และคณะ 159 130 64 Gysler และคณะ 428 364 184 Hammond และคณะ 137 67 Kousta และคณะ 128 113 55 Messinis และคณะ 51 35 Imani และคณะ 259 194 111 รวม (ร้อยละ) 5,286 (100) 3,858 (73) 1,909 (36)

8 ตารางที่ 2 ผลของการตั้งครรภ์ภายหลังการรักษา Clomiphene citrate
การศึกษา การตั้งครรภ์ แท้งบุตร คลอดบุตรมีชีวิต McGregor และคณะ 1,393 279 1,114 Garcia และคณะ 64 16 48 Gysler และคณะ 184 24 160 Hammond และคณะ 67 10 57 Kousta และคณะ 55 13 42 Messinis และคณะ 35 4 31 Imani และคณะ 111 11 98 Ahlgren และคณะ 159 18 141 Adashi และคณะ 86 23 62 Correy และคณะ 156 140 Dickey และคณะ 1,744 413 1,331 รวม (ร้อยละ) 4,054 (100) 827 (20.4) 3,224 (79.5)

9 ตารางที่ 1 ผลของการรักษาด้วยยา Clomiphene citrate
การศึกษา จำนวนผู้ป่วย การตกไข่ การตั้งครรภ์ McGregor และคณะ 4,098 2,869 1,393 Garcia และคณะ 159 130 64 Gysler และคณะ 428 364 184 Hammond และคณะ 137 67 Kousta และคณะ 128 113 55 Messinis และคณะ 51 35 Imani และคณะ 259 194 111 รวม (ร้อยละ) 5,286 (100) 3,858 (73) 1,909 (36)

10 ตารางที่ 2 ผลของการตั้งครรภ์ภายหลังการรักษา Clomiphene citrate
การศึกษา การตั้งครรภ์ แท้งบุตร คลอดบุตรมีชีวิต McGregor และคณะ 1,393 279 1,114 Garcia และคณะ 64 16 48 Gysler และคณะ 184 24 160 Hammond และคณะ 67 10 57 Kousta และคณะ 55 13 42 Messinis และคณะ 35 4 31 Imani และคณะ 111 11 98 Ahlgren และคณะ 159 18 141 Adashi และคณะ 86 23 62 Correy และคณะ 156 140 Dickey และคณะ 1,744 413 1,331 รวม (ร้อยละ) 4,054 (100) 827 (20.4) 3,224 (79.5)

11 ตารางที่ 1 กลไกการออกฤทธิ์ของยา Metformin และยา Thiazolidinediones
ยับยั้งการผลิตกลูโคสจากตับ - ยับยั้งขบวนการ Gluconeogenesis - ยับยั้งขบวนการสลายไกลโคเจน เพิ่มฤทธิ์ของอินซูลินในเซลล์กล้มเนื้อลายและไขมัน - เพิ่มการขนส่งกลูโคสเข้าเซลล์ - เพิ่มการสร้างไกลโคเจน - เพิ่มการสร้างไขมัน เพิ่มความไวของอินซูลินและปรับการทำงานของเซลล์เบต้าของตับอ่อน ลดการดูดซึมกลูโคสที่ลำไส้และเก็บกักกลูโคสในผนังลำไส้เล็ก

12 ตารางที่ 1 กลไกการออกฤทธิ์ของยา Metformin และยา Thiazolidinediones
เพิ่มความไวของอินซูลินในตับ - เพิ่มการดูดซึมไขมัน - เพิ่มการใช้พลังงาน - ยับยั้งขบวนการ Gluconeogenesis เพิ่มความไวของอินซูลินในกล้ามเนื้อลาย - เพิ่มการดูดซึมกลูโคส - เพิ่มการใช้พลังงาน เพิ่มความไวของอินซูลินในเนื้อเยื่อไขมัน - เพิ่มการดูดซึมกลูโคส - เพิ่มการดูดซึมไขมัน - เพิ่มการใช้พลังงาน

13 Author-year Study design Sample size outcomes Evidence
Jinee Baruah (2009) RCT (1st line) 25 letrozole (58 cycles) 25 PCOS (56 cycles) Pregnancy rate 19% % Ib Abu Hashim H (2009) RCT (cc-resistant) 123 letrozole (285 cycles) 127 met-CC (297 cycles) Ovulation 64.9% 69.6% pregnancy rate 14.7% 14.4% significant no. ovulation met-cc >>let Al-Omari, 2004 22/22 Letrozole 2.5 mg 18/18 Anastrazole 1 mg Ovulatory 84.4(%) 63.6 Pregnancy 18.8 (%) 9.1 Atay, 2006 Letrozole 2.5 mg Clomiphene 100 mg Ovulation 82.4 Pregnancy 21.6 Badawy A 2009 218/545 letrozole 5 mg 220/518 cc 100 mg Ovulation 67.5% 70.9% pregnancy 15.1% 17.9%

14 Author-year Study design Sample size outcomes Evidence
Badawy A 2008 RCT (cc-resistant) 111/295 letrozole 2.5 mg 109/279 anastrozole 1 mg Ovulation 62% 63.4% pregnancy 12.2% 15.1% Ib Begum MR 2009 RCT(cc-resistant 100 mg) Total 64 letrozole 7.5 mg cc 150 mg Ovulation 62.5%* 37.5% pregnancy 40.63%* 18.75% Badawy A 2009 RCT (case control) 115/243 anastrozole 1 mg 101/226 cc 100 mg 108/219 letrozole 2.5 D /225 short letrozol 5 D1-5 Ovulation 67.9% 68.6% Ovulation 65.7%* 61.8% pregnancy 17.4%* 12.4% Sohrabvand F 2006 29 met-let 30 met-cc Ovulation 90.57% 80.60% pregnancy 34.50% 16.67%

15 Study Meddication N Primary outcome
Mitwally M.etal (case control) 1999 Troglitazone 18 Owlation rate 67% Pregnancy rate 11% Ghazeeri G etal (RCT) 2003 Rosiglitazone 25 Ovulation rate sig (77% vs 33%) LVL etal (case controll) 2004 Owlation rate 60% Zhang LL etal (RCT) 2004 96 (80% vs 35%) Roozi A. etal (RCT) 2006 (64% vs 36%) OTA H. etal (retrospective) 2008 Pioglitazone 9 Improve endocrine parameters

16 ►ข้อมูลในปัจจุบันสนับสนุนให้ใช้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทาน
อาหารร่วมกับการออกกำลังกายแบบแอโรบิค เป็นทางเลือกแรกในการชักนำให้ ไข่ตกในสตรีที่มีภาวะถุงน้ำรังไข่หลายใบ (Evidence level Ib – III : Recommendation A)

17 ►Clomiphene citrate ยังคงเป็นยาตัวแรกที่แนะนำให้ใช้ในการ
ชักนำให้ไข่ตกในสตรีที่มีภาวะถุงน้ำหลายใบ (Evidence level Ia – IIb : Recommendation A)

18 ►การใช้ยา metformin เป็นยาตัวแรกสำหรับชักนำให้เกิดการตกไข่
ในสตรีที่มีภาวะถุงน้ำหลายใบ ข้อมูลยังคงขัดแย้งกันอยู่ และอัตราการตกไข่ จะสูงขึ้นถ้าใช้ยา metformin นานขึ้น โดยเริ่มให้ที่ขนาดต่ำก่อนและ ค่อยๆปรับเพิ่มขนาดขึ้นตามดัชนีมวลกาย (Evidence level Ib – IIb : Recommendation A)

19 ►การใช้ยา metformin ร่วมไปกับ clomiphene citrate
(Evidence level Ib – IIb : Recommendation A)

20 ►ยังไม่มีข้อมูลเพียงพอถึงการใช้ short course metformin
(< 4 สัปดาห์ )ในการชักนำให้เกิดการตกไข่ในสตรีที่มีภาวะถุงน้ำรังไข่หลายใบ (Evidence level IA – III : Recommendation A)

21 ►การใช้ยา metformin ร่วมไปกับ clomiphene citrate
ในการชักนำให้เกิดการตกไข่ในสตรีที่มีภาวะถุงน้ำหลายใบที่มีภาวะไข่ไม่ตกไม่ได้ ผลการรักษาที่ดีไปกว่าการได้รับ clomiphene citrate เพียงตัวเดียว (Evidence level Ia – IIb : Recommendation A)

22 ► การใช้ยาเพิ่มความไวอินซูลินในกลุ่ม Thiazolidinediones
เพื่อชักนำให้เกิดการตกไข่ พบว่ายังไม่มีข้อมูลเพียงพอที่จะนำยากลุ่มนี้มาใช้ เพื่อชักนำให้เกิดการตกไข่ในสตรีกลุ่มอาการที่รังไข่มีถุงน้ำหลายใบโดยทั่ว ๆไป (Evidence level Ib – Ill : Recommendation A)

23 การนำยาต้านเอนไซม์ aromatase (letrozole) มาใช้ในการ
ชักนำไข่ตกในกลุ่มผู้ป่วย PCOS มีประสิทธิภาพดี ทั้งในกลุ่มที่ไม่ ตอบสนองต่อยา clomiphene citrate และกลุ่มที่ใช้ยา letrozole แบบ first-line อย่างไรก็ตามควรพิจารณาความ เหมาะสมใช้ด้านราคาและความสะดวกในการใช้ รวมถึง อาการข้างเคียง นอกจากนี้ ข้อมูลผลของยาต่อทารกยังมีค่อนข้างน้อย (Evidence level Ib – Ill : Recommendation A)

24 END


ดาวน์โหลด ppt Guideline for owlation induction in anovulatory Pcos

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google