งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 1 แนวคิดการตรวจสอบภายในสมัยใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 1 แนวคิดการตรวจสอบภายในสมัยใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 1 แนวคิดการตรวจสอบภายในสมัยใหม่
วิชาการตรวจสอบภายใน ได้มีการปฏิรูปลักษณะการปฏิบัติงานมาตลอดในทศวรรษ ที่ผ่านมาเพื่อให้ทันกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป

2 คำนิยามการตรวจสอบภายใน
การตรวจสอบภายใน คือ กิจกรรมการให้ความเชื่อมั่นและการให้คำปรึกษาอย่าง อิสระและเที่ยงธรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าและปรับปรุงการปฏิบัติงานขององค์การ การ ตรวจสอบภายในจะช่วยให้องค์การบรรลุตามวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ที่กำหนด โดยใช้ การประเมินและการปรับปรุงประสิทธิผลของกระบวนการบริหารความเสี่ยง การ ควบคุม และกำกับดูแล อย่างเป็นระบบและมีระเบียบวิธี

3 แนวคิดพื้นฐานที่สำคัญ 5 ประการ คือ
1. การช่วยให้องค์กรบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ 2. การประเมินและการปรับปรุงประสิทธิผลของกระบวนการบริหารความเสี่ยงการ ควบคุมและการกำกับดูแล 3. กิจกรรมการให้ความเชื่อมั่นและให้คำปรึกษา เพื่อเพิ่มมูลค่า และปรับปรุงการ ดำเนินงานขององค์กร 4. ความเป็นอิสระและเที่ยงธรรม 5. การปฏิบัติภารกิจอย่างเป็นระบบและระเบียบวิธี

4 การแบ่งวัตถุประสงค์ตามแนวทางที่ COSO ใช้ดังนี้
1. วัตถุประสงค์ด้านกลยุทธ์ 2. วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติงาน

5 การวางแผนภารกิจ 1. การทำความเข้าใจผู้รับการตรวจ
1. การทำความเข้าใจผู้รับการตรวจ 2. การกำหนดวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบภายใน 3. การกำหนดหลักฐานที่ต้องการ 4. การกำหนดลักษณะ ระยะเวลา และขอบเขตวิธีการตรวจ

6 วิวัฒนาการของการตรวจสอบภายใน
ค.ศ – หลังสงครามโลก ค.ศ. 1972 ค.ศ มาตรฐานการตรวจสอบ IIA ค.ศ กฎหมาย FCPA ค.ศ การตั้งคณะกรรมาธิการ ค.ศ กรอบงานการควบคุมภายใน

7 ค.ศ. 2002 - มาตรฐาน IIA ใหม่ - กฎหมาย Sarbanes Oxley Act - หลักการกำกับดูแล - กรอบงานการบริหารความเสี่ยง ค.ศ. 2005 ค.ศ. 2009 มาตรฐานการตรวจสอบภายในสากล

8 วิวัฒนาการตรวจสอบภายในในประเทศไทย
พ.ศ ประเทศไทยเริ่มมีการสอบบัญชี พ.ศ จัดตั้งสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย พ.ศ การประกาศระเบียบการจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ. 2505 พ.ศ การจัดตั้งตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พ.ศ มติคณะรัฐมนตรีเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2519 พ.ศ จัดทำคู่มือการตรวจสอบภายใน

9 พ.ศ. 2531 ขยายขอบเขตงานตรวจสอบภายใน
พ.ศ จัดตั้งสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย พ.ศ กำหนดคุณสมบัติของบริษัทที่จะยื่นคำขอจดทะเบียน พ.ศ จัดทำคู่มือระบบการควบคุมภายใน พ.ศ ออกข้อบังคับให้บริษัทจดทะเบียนต้องจัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ภายใน พ.ศ ประกาศใช้ระเบียบกระทรวงการคลัง

10 พ.ศ. 2544 ระเบียบว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายในในภาครัฐ
พ.ศ ประกาศใช้มาตรฐานการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน พ.ศ ประกาศใช้ระเบียบกระทรวงการคลัง พ.ศ ประกาศใช้ระเบียบกระทรวงการคลังพ.ศ. 2551

11 การตรวจสอบภายในแบบสมบูรณ์
1. การสอบบัญชี 2. การตรวจสอบภายในแนวขยาย

12 ความประหยัด ความมีประสิทธิภาพ ความมีประสิทธิผล

13 ปัจจัยความสำเร็จของการตรวจสอบภายใน
1. การสนับสนุน 2. ความเข้าใจ 3. ความรู้ทักษะ 4. ความพร้อม

14 ลักษณะของการตรวจสอบภายในสมัยใหม่
เป็นการให้สารสนเทศ เป็นผู้สงเสริมสนับสนุน เน้นการบริหารความเสี่ยง เน้นนโยบาย ตรวจสอบตามกระบวนการ ตรวจตามรายงานการดำเนินงาน ปฏิบัติงานสอดคล้องกับมารฐานสากล ควรมีประสบการณ์ด้านการตรวจสอบ

15 ความสำคัญของการตรวจสอบภายในสมัยใหม่
1. ส่งเสริมให้เกิดกระบวนการกำกับดูแลกิจการที่ดี 2. ส่งเสริมให้เกิดความรับผิดชอบ 3. ส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพ 4. ให้สัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า

16 ขอบเขตความรู้พื้นฐาน
1. บทบาทในด้านการกำกับดูแล 2. การปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน 3. การวิเคราะห์ธุรกิจ 4. ทักษะในการบริหารธุรกิจ

17 แนวโน้มการตรวจสอบภายในในอนาคต


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 1 แนวคิดการตรวจสอบภายในสมัยใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google