งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 4 แบบจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 4 แบบจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 4 แบบจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
วิการวิเคราะห์ระบบเชิงโครงสร้าง (Structure Analysis) เป็นการอธิบายระบบในเรื่องของ ข้อมูลนำเข้า (Inputs) ข้อมูลส่งออก (Outputs) ข้อมูล (Data) กระบวนการ (Process)

2 โดยประกอบด้วยเครื่องมือ 3 สิ่ง คือ
* แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagrams) * พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) * คำอธิบายกระบวนการ (Process Description)

3 แผนภาพกระแสข้อมูล (DATA FLOW DIAGRAMS – DFD)
แสดงถึงทิศทางการไหลของข้อมูลในระบบ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องภายในระบบ แสดงการไหลของข้อมูลนำเข้าและข้อมูลส่งออก และขั้นตอนการทำงานของระบบ สัญลักษณ์สร้างแผนภาพกระแสข้อมูล (DFD Symbols - DFDs) ที่นิยมใช้เป็นของ Gene and Sarson และ Yourdoประกอบด้วยสัญลักษณ์ 4 ตัว สัญลักษณ์กระบวนการ สัญลักษณ์การไหลของข้อมูล สัญลักษณ์แหล่งเก็บข้อมูล สัญลักษณ์สิ่งที่เกี่ยวข้องกับระบบ

4

5 สัญลักษณ์กระบวนการ (Process Symbol)
แสดงถึงวิธีการรับข้อมูลและทำให้เกิดผลลัพธ์ สัญลักษณ์การไหลของข้อมูล (Data Flow Symbol) แสดงถึงทิศทางการไหลของข้อมูล จากแหล่งหนึ่ง ไปยังอีกแหล่งหนึ่งเท่านั้น สัญลักษณ์แหล่งเก็บข้อมูล (Data Store Symbol) เพื่อแสดงถึงแหล่งที่เก็บข้อมูล แต่จะไม่แสดงรายละเอียด ของข้อมูลที่เก็บ สัญลักษณ์สิ่งที่เกี่ยวข้องกับระบบหรือเอนทิตีภายนอก (External Entity Symbol) อาจเป็น คน หน่วยงาน องค์กรภายนอก หรือระบบสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้องในการส่งข้อมูลเข้าหรือรับข้อมูลจากระบบ

6

7

8

9

10

11

12 การวาดแผนภาพบริบทหรือคอนเท็คท์ไดอาแกรม (Context Diagram)
เป็นโครงสร้างแรกเริ่มในระบบงานที่จะชี้ให้เห็นลักษณะงานและขอบเขตของระบบงาน หลักเกณฑ์การใช้สัญลักษณ์สร้างแผนภาพกระแสข้อมูล 1. แต่ละคอนเท็คท์ไดอาแกรม ต้องสมดุลอยู่ภายในหนึ่งหน้ากระดาษ 2. ชื่อของกระบวนการในคอนเท็คท์ไดอาแกรม ควรเป็นชื่อของ ระบบงานหรือโครงงาน 3. ให้ใช้ชื่อเดียวกัน ในเรื่องเดียวกันตลอดทั้งระบบ 4. ไม่ควรลากเส้นตัดกัน 5. หมายเลขอ้างอิงในแต่ละสัญลักษณ์ของกระบวนการ ต้องไม่ซ้ำกัน

13

14 กลยุทธ์ในการสร้างแผนภาพกระแสข้อมูล
(Strategies for Developing DFD) คือการใช้สัญลักษณ์แผนภาพกระแสข้อมูล สร้างภาพจำลองในลักษณะบนลงล่าง (Top-down) โดยเริ่มจากคอนเท็คท์ไดอาแกรม แล้วสร้างไดอาแกรม 0 ตามด้วย ชายด์ไดอาแกรมของไดอาแกรม 0 และต่อไปเรื่อยๆ

15

16

17

18 พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary)
เป็นแหล่งที่เก็บกลางของข้อมูลในระบบ สำหรับนักวิเคราะห์ระบบใช้ในการรวบรวมเป็นหลักฐานเอกสาร เพื่อการจัดการข้อมูลในระบบ รวมทั้งบรรจุข้อมูลของดาต้าโฟร์ ดาต้าสโตร์ เอนทิตีภายนอกและโพรเซสทั้งหมด

19 Data Dictionary

20

21 Documenting the Data Flow

22 Documenting the Data Stores

23 Documenting the Process

24 Documenting the External Entities

25 Documenting the Records

26 เครื่องมือการอธิบายกระบวนการ (Process Description Tools)
เครื่องมือการอธิบายกระบวนการ (Process Description Tools) จะต้องประกอบด้วยรายละเอียดของกระบวนการหน่วยย่อย (Functional Primitive) ให้แบ่งขั้นตอนให้เป็นกระบวนการหน่วยเล็กกว่า เรียกว่าการออกแบบหน่วยย่อย * การออกแบบหน่วยย่อย (Modular Design) 1.    การเรียงลำดับ (Sequence) 2.    การเลือกทำ (Selection) 3.    การทำซ้ำ (Iteration) * โครงสร้างภาษาอังกฤษ (Structured English) * ตารางการตัดสินใจ (Decision Tables) * ผังต้นไม้ (Decision Trees)

27 Modular Design Sequence Selection Iteration

28 Structured English

29 Decision Tables

30 Decision Trees

31 สี่รูปแบบในการดำเนินการ (Four-Model Approach)
หากทำตามลำดับของการจัดทำแบบจำลอง จะทำให้ได้แบบจำลอง 4 รูปแบบ คือ แบบจำลองทางกายภาพของระบบงานเดิม แบบจำลองทางตรรกะของระบบงานเดิม แบบจำลองทางตรรกะของระบบงานใหม่ แบบจำลองทางกายภาพของระบบงานใหม่

32

33

34

35

36

37

38

39

40

41

42 แล้วไม่ส่งไปส่วนอื่นๆ ไม่ได้
หมายเหตุ : Process จะส่งไปเก็บไว้ใน Data Store แล้วไม่ส่งไปส่วนอื่นๆ ไม่ได้ Entity จะส่งไปมาหากันไม่ได้ หรือจะส่งไปเก็บไว้ใน Data Store โดยไม่ผ่าน Process ไม่ได้


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 4 แบบจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google