งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พัฒนาการอำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พัฒนาการอำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พัฒนาการอำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร
บัญชีอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร

2 ถ้าผมเป็นกรรมการกลุ่มออมทรัพย์
รู้ไหมครับ ถ้าผมเป็นกรรมการกลุ่มออมทรัพย์ ผมจะทำอะไรบ้าง ? ยงยุทธ พันตารักษ์

3 ทะเบียนคุมเงินสัจจะพิเศษ
เส้นทางการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์ รับสมาชิก ทะเบียนสมาชิก เลือกกรรมการ ทะเบียนกรรมการ จัดตั้งกลุ่ม ทะเบียนคุมเงินสัจจะ รับเงินสัจจะ/พิเศษ ทะเบียนคุมเงินสัจจะพิเศษ ทำกิจกรรมกลุ่ม ให้สมาชิกกู้เงิน ทะเบียนคุมเงินกู้ ลงทุนกิจกรรมอื่นๆ ทะเบียนอื่นๆ ควบคุมการเงิน ทะเบียนคุมเงินปันผล ผลกำไร จัดทำบัญชี จัดสรรผลกำไร บัญชี ส บัญชี ร บัญชี จ งบดุล

4 สภาพปัญหาการดำเนินงานที่ผ่านมา
คณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์ฯบางส่วน ขาดความเชี่ยวชาญทางบัญชี 2.การจัดทำ ไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน และ ไม่เป็นปัจจุบัน

5 ความหมายการจัดทำบัญชี “การจดบันทึกรายการทางการเงิน
จัดแยกหมวดหมู่ ของรายการที่บันทึก สรุปผลวิเคราะห์ ความหมายของรายการที่จดบันทึกไว้ โดยจัดทำในรูปของรายงานทางการเงิน”

6 หมวดบัญชี 1.ทรัพย์สิน 2.หนี้สิน 3.ทุน 4.รายได้ 5.รายจ่าย

7 เงินฝากธนาคาร ลูกหนี้ หรือ ทรัพย์สินอื่นๆ
เงินสด 11 เงินฝากธนาคาร 12 ลูกหนี้ 13 ทรัพย์สิน เงินหรือสิ่งของที่สามารถวัดมูลค่าเป็นเงินสด และ กลุ่มเป็นเจ้าของ เช่น เงินสด เงินฝากธนาคาร ลูกหนี้ หรือ ทรัพย์สินอื่นๆ เครื่องใช้สำนักงาน 15

8 หนี้สิน เงินหรือสิ่งของที่ได้มาและมีภาระที่ต้องจ่ายคืนในอนาคต เช่น เงินสัจจะสะสม / เงินสัจจะพิเศษ เงินกู้ /

9 ทุน เงินหรือสิ่งของที่นำมาใช้ในการดำเนินงาน ปลอดจากหนี้ ถอนไม่ได้จนกว่าจะเลิกล้มกิจการ เช่น เงินสนับสนุน เงินบริจาค

10 รายได้ เงินหรือสิ่งของที่ได้มาจากการดำเนินงาน ไม่มีข้อผูกพัน ว่าต้องจ่ายคืน มีผลทำให้ทุนเพิ่มขึ้น

11 ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ ค่าเครื่องเขียน ค่าใช้จ่าย เงินที่จ่ายออกไปเพื่อใช้ดำเนินงานของกองทุน (ขอคืนไม่ได้) มีผลทำให้ทุนลดลง ดอกเบี้ยจ่าย ค่าอาหารและเครื่องดื่ม ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าเบี้ยประชุม

12 งวดบัญชี

13 1 ม.ค. 51 31 ธ.ค. 52 ม.ค. ก.พ. มี.ค. พ.ค. เม.ย. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. งวดบัญชีกำหนดตามปีปฏิทิน (1 มกราคม – 31 ธันวาคม) เพื่อเป็นการวัดผลการดำเนินงานในช่วงระยะเวลาใด เวลาหนึ่ง

14 เป็นการจดบันทึกรายการทางการเงินเรียงตามลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
สมุดบันทึกรายการขั้นต้น

15 สมุดบันทึกรายการขั้นต้น
บันชีเงินสดและเงินฝากธนาคาร(ส.) บัญชีรายได้และหนี้สิน (ร.) บัญชีรายจ่ายและทรัพย์สิน (จ.) งบกำไร-ขาดทุน และ งบดุล

16 กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
บัญชีอิเลคทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

17 กรอบแนวคิดในการจัดทำ
1.ผู้ใช้ไม่ต้องมีพื้นฐาน ทางบัญชี 2.ง่ายต่อการใช้งาน 3.มีระบบตรวจสอบ

18 ใช้รูปแบบการจัดทำบัญชี
ของ กรมการพัฒนาชุมชน

19 ซึ่งเป็นโปรแกรมพื้นฐาน
รูปแบบ จัดทำด้วยโปรแกรม เอกเซล (Excel) ซึ่งเป็นโปรแกรมพื้นฐาน ใช้กันโดยทั่วไป

20 รูปแบบ จัดระบบ เป็นชีทต่างๆ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มทะเบียน กลุ่มบัญชี
แบ่งเป็น กลุ่ม กลุ่มทะเบียน กลุ่มบัญชี กลุ่มตรวจสอบ

21 กลุ่ม ทะเบียน ทะเบียนสมาชิก ทะเบียนกรรมการ ทะเบียนคุมเงินสัจจะสะสม
ทะเบียนคุมเงินสัจจะพิเศษ ทะเบียนคุมเงินกู้ของสมาชิก ทะเบียนคุมเงินปันผล/เฉลี่ยคืน ทะเบียนครุภัณฑ์

22 กลุ่ม บัญชี บันทึกข้อมูลเบื้องต้น บันทึกรายการ
บัญชีเงินสด – เงินฝากธนาคาร (ส.) บัญชีรายได้ และ หนี้สิน (ร.) บัญชีรายจ่าย และ ทรัพย์สิน (จ.) งบดุล และ งบกำไร-ขาดทุน รายละเอียดประกอบงบดุล

23 กลุ่ม ตรวจสอบ รายงานการลงบัญชี สรุปผลการดำเนินงาน

24 จัดทำขึ้นเพื่อความสะดวก และ รวดเร็วในการค้นหาชีทต่างๆ ที่มีอยู่ในระบบ
ชีทหลัก จัดทำขึ้นเพื่อความสะดวก และ รวดเร็วในการค้นหาชีทต่างๆ ที่มีอยู่ในระบบ

25 2.ให้กู้ไม่เกิน ปีละ 199 ครั้ง
ข้อจำกัด 1.สมาชิกไม่เกิน 10,000 คน 2.ให้กู้ไม่เกิน ปีละ 199 ครั้ง


ดาวน์โหลด ppt กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พัฒนาการอำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google