งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบาดวิทยา (Epidemiology)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบาดวิทยา (Epidemiology)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบาดวิทยา (Epidemiology)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management) ระบาดวิทยา (Epidemiology) นางน้ำผึ้ง รัตนพิบูลย์ วันที่ 19 พฤษภาคม 2554 กลุ่มพัฒนาความร่วมมือทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ

2 What is Epidemiology? The study of distribution and determinants of disease frequency in human population. (McMahon B., Pugh TF,1970) The study of the occurrence of disease in a human population . (CDC Center of Disease Control and prevention, 1978)

3 What is Epidemiology? The study of distribution and determinants of health-related states or events in specified population, and application of this study to control of health problems. (Last, 1988)

4 What is Epidemiology? Epidemiology is about the interplay
And the interactions between human hosts, disease agents and their environments. It serves as a rationally logical foundation for public health and preventive medicine. South-East Asia Regional Conference on Epidemiology, 2010

5 รากศัพท์ของ “Epidemiology” มาจาก ภาษากรีก Epi = On, Upon
ระบาดวิทยา คือ อะไร การศึกษาเกี่ยวกับการกระจายของโรคและปัจจัย ที่มีอิทธิพลต่อการกระจายของโรคในมนุษย์ รากศัพท์ของ “Epidemiology” มาจาก ภาษากรีก Epi = On, Upon Demos = People Logos = Knowledge

6 ระบาดวิทยา คือ... ควบคุมโรค ประชากร การเกิดโรค การศึกษา
สาเหตุ (หรือปัจจัยเสี่ยง) คืออะไร การกระจายของโรค: บุคคล เวลา สถานที่

7 วิวัฒนาการเกี่ยวกับความเข้าใจเกี่ยวกับโรค
ต้นคริสศตวรรษที่ 19 Florence Nightingale และคณะ ได้ให้นิยามดังนี้ โรคเป็นภาวะของความไม่สมดุลย์ของร่างกาย เช่น การมีไข้ อาเจียร เหงื่อออก ท้องร่วง ฯลฯ การป้องกันโรคทำได้โดย การหลีกเลี่ยงสิ่งทีทำให้เกิดความไม่สมดุลย์ เช่น การอยู่ในที่ที่มีอากาศถ่ายเทดี มีน้ำสะอาด มีสุขาภิบาลดี และรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ การรักษาทำได้โดยการทำให้เหงื่อออก การทำให้อาเจียร การเอาเลือดที่เสียคั่งออกมา ต่อมากลางคริสศตวรรษที่ 19 Pierre Charles-Alexander Louis พบว่าการการเอาเลือดที่เสียคั่งออกมาไม่มีผลต่อการรักษา John Snow และคณะค้นพบว่าการระบาดของโรคอหิวาตกโรคเกิดจากดื่มน้ำที่ปนเปื้อนสิ่งปฏิกูล

8 วิวัฒนาการเกี่ยวกับความเข้าใจเกี่ยวกับโรค (ต่อ)
ปลายคริสศตวรรษที่ 19 Robert Koch และคณะ ค้นพบเชื้อ Tubercle bacillus และ เชื้ออื่นๆ ที่เป็นสาเหตุของโรค นอกจากนี้ยังพบเชื้อที่เป็นสาเหตุเฉพาะของโรคแต่ละโรค พบว่าการรักษาและป้องกันโรคทำได้โดยกำจัดสาเหตุของโรค สิ่งที่ยังไม่พบในยุคนี้คือ เพราะเหตุใดผู้ที่สัมผัสเชื้อบางคนจึงไม่เป็นโรค ยุคปัจจุบัน ค้นพบสาเหตุของโรค และเข้าใจธรรมชาติของโรคมากขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่าการเกิดโรคบางโรคยังมีสาเหตุร่วมหลายประการ เช่น จากเชื้อโรคเอง จากพฤติกรรมของผู้ป่วย และจากสภาพสิ่งแวดล้อม

9 ประโยชน์ของระบาดวิทยา
บอกธรรมชาติของการเกิดโรค (National history of disease) หาสาเหตุของโรค (Causation) วัดสถานะสุขภาพและการเปลี่ยนแปลง (Description of health status and changing in time) ประเมินมาตรการ (Evaluation of health intervention)

10 องค์ประกอบในการเกิดโรค (Epidemiologic Triangles)
Environment Agent Host ในภาวะที่มีความสมดุลระหว่างปัจจัยทั้งสามจะไม่มีโรคเกิดขึ้นในชุมชน (Stage of equilibrium)

11 Host, Agent and Environment
Genetic factors Personality Age Gender Race Immunities Behavior Lifestyle Infectious: bacteria viruses parasite Chemical: poisons allergens Physical: radiation Social: Social Economic Status Country of residence pollution (air, water) heat, cold light disaster

12 ในภาวะที่ไม่มีความสมดุลระหว่างปัจจัยทั้งสาม จะมีโรคเกิดขึ้นในชุมชน (Stage of unequilibrium)
Environment Agent Host ภาวะที่ไม่สมดุลนี้ อาจเกิดขึ้นเนื่องจาก สิ่งที่ทำให้เกิดโรคมีความสามารถในการแพร่กระจายโรคและทำให้เกิดโรคมากขึ้น สัดส่วนของคนที่มีความไวในการติดโรคเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะทารกและคนชรา การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมที่สนับสนุนให้มีการแพร่กระจายของโรค เช่น ในฤดูฝนทำให้ยุงลายเพิ่มจำนวน ไข้เลือดออกสูงขึ้น

13 หลักการป้องกันและควบคุมโรค
Environment Agent Host .การวินิจฉัยแต่แรกเริ่ม และรักษาทันที . การค้นหาและรักษาพาหะนำโรค . การควบคุมแหล่งแพร่เชื้อ .การส่งเสริมสุขภาพ โภชนาการ สุขศึกษา .การคุ้มกันเฉพาะ เช่น วัคซีน การควบคุมสิ่งแวดล้อม เช่น ขยะ น้ำเสีย สิ่งปฏิกูล สัตว์และแมลงที่เป็นพาหะนำโรค

14 The Natural History of Disease
ธรรมชาติการเกิดโรค The Natural History of Disease แบ่งออกได้เป็น 4 ระยะ คือ 1.ระยะมีความไวต่อการเกิดโรค (Stage of susceptibility) 2.ระยะก่อนมีอาการของโรค (Stage of preclinical disease) 3.ระยะมีอาการของโรค (Stage of clinical disease) 4.ระยะมีความพิการของโรค (Stage of disability)

15 ทำไมต้องรู้ธรรมชาติการเกิดโรค ?
เพื่อประโยชน์ในการป้องกันโรค เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยโรค และหาสาเหตุที่แท้จริง ของโรค โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าโรคนั้นเป็นโรคที่มีระยะ ฟักตัวนาน (long latency)

16 ธรรมชาติการเกิดโรค กำจัดปัจจัยเสี่ยงเพื่อลดผู้ป่วยรายใหม่
การป้องกันขั้น 1 (1o prevention) 1.ระยะมีความไวต่อการเกิดโรค (Stage of susceptibility) คนปกติมี risk แต่ไม่ป่วย คัดกรองรีบรักษาทันที เพื่อลดความรุนแรงและลดการดำเนินโรค 2.ระยะก่อนมีอาการของโรค (Stage of preclinical disease) การป้องกันขั้น 2 (2o prevention) มีพยาธิสภาพแต่ยังไม่มีอาการ 3.ระยะมีอาการของโรค (Stage of clinical disease) รักษาที่ถูกต้องและส่งต่อตามความเหมาะสม เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการ และทำให้ชีวิตที่เหลืออยู่มีคุณภาพ มีอาการของโรคเกิดขึ้น การป้องกันขั้น 3 (3o prevention) 4.ระยะมีความพิการ (Stage of disability) หาย หรือ มีความพิการ หลงเหลืออยู่ ppt

17 นิยามศัพท์ อุบัติการณ์ incidence – ผู้ป่วยรายใหม่
ความชุก prevalence – ผู้ที่กำลังป่วย(รวมรายใหม่ และ รายเก่าที่ยังไม่หาย) ป่วยรายใหม่ incidence Prevalence ตาย หาย

18 นิยามศัพท์ Endemic (โรคประจำถิ่น)
โรคที่พบการระบาดได้ตามความคาดหมายในกลุ่มประชากร “Background” level จำนวนคาดการณ์ผู้เสียชีวิตในแต่ละปี Cécile Viboud, et al. Emerg Infect Dis [serial on the Internet] Apr. Available from

19 Epidemic เมื่อพบผู้ป่วยหรือการระบาดมากกว่าความคาดหมาย (มากกว่าปรกติ) Pandemic เมื่อพบการระบาดในวงกว้างทางภูมิศาสตร์ หรือ ทั่วโลก

20 Number of Cases of a Disease
Endemic vs Epidemic Number of Cases of a Disease Endemic Epidemic Time

21 การวัดทางระบาดวิทยา Ratio : ตัวตั้งไม่จำเป็นต้องเป็นส่วนหนึ่งของตัวหาร
Proportion : เปรียบเทียบจำนวนย่อยกับจำนวน รวมทั้งหมด Rate : มีเวลาเกี่ยวข้อง

22 อัตราส่วน Ratio a/b เป็นการเปรียบเทียบค่าตัวเลขของจำนวนหนึ่งกับอีกจำนวนหนึ่ง โดยตัวตั้งไม่ได้มาจากตัวหาร

23 สัดส่วน Proportion ผู้ป่วยโรคมะเร็งปอด 5 รายต่อประชากร 100 คน
x/x+y+…..X 100 เป็นการเปรียบเทียบระหว่างตัวตั้งซึ่งเป็นจำนวนหนึ่งของตัวหาร กับตัวหารซึ่งเป็นจำนวนรวมทั้งหมด มักนิยมแปลงเป็นรูปร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์

24 อัตรา Rate a/(a+b) X k การเปรียบเทียบจำนวนความถี่ของโรคหรือลักษณะบางอย่างต่อหน่วยประชากรที่เฝ้าสังเกต

25 การวัดทางระบาดวิทยา ความชุก (Prevalence) : จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดที่มีอยู่ (เก่าและใหม่) ในระยะเวลาที่กำหนด อุบัติการณ์ (Incidence) : จำนวนผู้ป่วยใหม่ที่เกิดขึ้นในระยะเวลาที่กำหนด

26 ความชุก (Prevalence) จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดที่มีอยู่ในระยะเวลาที่กำหนด
จำนวนประชากรทั้งหมด จำนวนประชากร 1000 คน 2552 2553 ความชุก = x 1000 = 8 ต่อประชากรพันคน 8 1000

27 อุบัติการณ์ (Incidence)
จำนวนผู้ป่วยใหม่ที่เกิดขึ้นในระยะเวลาที่กำหนด จำนวนผู้ป่วยใหม่ที่เกิดขึ้น จำนวนประชากรที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค จำนวนประชากร 1000 คน 2552 2553 อุบัติการณ์ = x 1000 = 5 ต่อประชากรพันคน 5 1000

28 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt ระบาดวิทยา (Epidemiology)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google