งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

COP เรื่องต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของงานซักฟอก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "COP เรื่องต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของงานซักฟอก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 COP เรื่องต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของงานซักฟอก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่ โดยงานพัสดุ ฝ่ายบริหารทั่วไป ผู้ร่วมทำ COP นางเรณู อยู่ฉัตร แกนนำ (งานพัสดุ) นางสายสุนีย์ ไชยวงศ์ญาติ งานซักฟอก (ผู้ให้ข้อมูล ปริมาณการผลิตและ ประมาณค่าใช้จ่ายค่าสาธารณูปโภค) นางสาววาสนา ไชยคำ งานการเงิน (ผู้ให้ข้อมูลค่าใช้จ่าย หมวดเงินเดือนและค่าจ้างฯ) นางสุภารัตน์ จันทร์สว่าง สมาชิก นางวิทชุดา อ้ายกำเลิศ สมาชิก นางพรพิมล ศรีบุญเรือง สมาชิก นางสุวรรณ แก้วปินตา สมาชิก นายมนัส อรรถโสดา ผู้นำเสนอ

2 ที่มาและสาเหตุ ของการทำ COP
1. การคิดต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตเป็น KPI ตัวที่ 11 ระดับกรมฯ และศูนย์ฯ 2. ผู้บริหารศูนย์ฯ (โดยผู้อำนวยการศูนย์ฯ) สั่งการให้งานพัสดุดำเนินการ คิดต้นทุนต่อ หน่วยในหน่วยงานย่อย (ในภาพรวมให้งานการเงิน) ประกอบด้วย 2.1 งานโภชนาการ รพ. (โรงอาหาร) 2.2 การผลิตสื่อโปสเตอร์ ของงานสนับสนุนวิชาการ 3. หัวหน้างานซักฟอก มีความพร้อมที่จะวางแผนการจ้างเหมาเอกชนมาดำเนินงานเกี่ยวกับ การซักผ้า เพื่อลดต้นทุนตามนโยบายศูนย์ฯ 4. เพื่อทำการเปรียบเทียบ ค่าใช้จ่าย ระหว่างศูนย์ฯ กับ เอกชนผู้รับจ้าง

3 วิธีดำเนินงาน โดยใช้ข้อมูล ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2549 – มิถุนายน 2550 (รวม 9 เดือน)
1. ประสานงานการเงินขอข้อมูลเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายงบบุคลากร (เงินเดือน/ค่าจ้าง) 2. ประสานงานซักฟอกขอข้อมูลเกี่ยวกับ 2.1 ปริมาณการผลิต (จำนวนน้ำหนักของผ้าที่ซักในแต่ละวัน) 2.2 ประมาณการค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าสาธารณูปโภค (ค่าน้ำ, ค่าไฟฟ้า) 3. รวบรวมข้อมูลค่าใช้จ่าย จากงานพัสดุเกี่ยวกับ งบดำเนินการ ได้แก่ ค่าวัสดุ ค่าซ่อมแซม/ บำรุงรักษาครุภัณฑ์ 4. เพื่อทำการเปรียบเทียบ ค่าใช้จ่ายระหว่างศูนย์ฯ กับ เอกชนผู้รับจ้าง

4 ข้อมูลค่าใช้จ่ายงานซักฟอกโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่ ปีงบประมาณ (ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2549 – มิถุนายน 2550) 9 เดือน 1. งบบุคลากร จำนวน 730, บาท - ลูกจ้างประจำ จำนวน 6 คน จำนวนเงิน 642,234 บาท - ลูกจ้างชั่วคราว จำนวน 2 คน จำนวนเงิน 87,840 บาท 2. งบดำเนินการ จำนวน 435, บาท ประกอบด้วย 2.1 ค่าวัสดุ - วัสดุโดยตรง (ค่าสารเคมีซักผ้า) จำนวนเงิน 98,985 บาท - วัสดุโดยอ้อม (วัสดุทั่วไป) จำนวนเงิน 4,500 บาท 2.2 ค่าจ้างเหมา - ค่าซ่อมแซม/บำรุงรักษาครุภัณฑ์ 5 ราย จำนวนเงิน 53,651 บาท (ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว) 2.3 ค่าสาธารณูปโภค - ค่าน้ำประปา จำนวนเงิน 32,760 บาท (คำนวณจากผ้าที่ซัก 1 ก.ก/0.40 บาท รวม 273 วัน ๆ ละ 300 ก.ก โดยเฉลี่ย) - ค่าไฟฟ้า จำนวนเงิน 245,700 บาท (คำนวณจากผ้าที่ซัก 1 ก.ก / 3 บาท รวม 273 วัน ๆ ละ 300 ก.ก โดยเฉลี่ย รวมงบดำเนินการทั้งสิ้น จำนวน 435,596 บาท

5 3. งบลงทุน จำนวน 5.00 บาท - ค่าครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว 5 รายการ (เครื่องซักผ้า 3 เครื่อง, เครื่องอบแห้ง 2 เครื่อง) (เกินกำหนดการใช้งานตามระเบียบ 10 ขึ้นไป มีมูลค่ารายการละ 1 บาท รวมค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น = 1,165, บาท ต้นทุนต่อหน่วย = งบบุคลากร + งบดำเนินการ + งบลงทุน ปริมาณการผลิต (ตามน้ำหนักของผ้าที่ซัก) = 730, , = 14 / ก.ก 81,900 เปรียบเทียบอัตราจ้างเหมาบุคคลภายนอก กิโลกรัมละ 9 บาท + 2 บาท รวม 11 บาท (รวมลูกจ้าง 2 คน) สามารถลดค่าใช้จ่ายได้ 9 เดือน 1,165,675 – 900,900 = 264, บาท

6 ผลที่ได้จากการทำ COP 1. ทราบต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของงานซักฟอก จากข้อมูล 9 เดือน ซักผ้า 1 ก.ก. ต้นทุน บาท 2. นำข้อมูลเสนอต่อผู้บริหาร เพื่อประกอบการตัดสินใจในการว่าจ้างเอกชนมาดำเนินการหรือ งานซักฟอกทำเหมือนเดิม 3. นำข้อมูลมาวางแผนการดำเนินงานในด้าน งบบุคลากร งบดำเนินการ และงบลงทุน ในอนาคต


ดาวน์โหลด ppt COP เรื่องต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของงานซักฟอก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google