งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานการณ์การพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานการณ์การพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานการณ์การพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ.2547-2555
เอกสารหมายเลข 3 สถานการณ์การพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ การประชุมเครือข่ายการพัฒนาระบบราชการ ของหน่วยงานสังกัดกรมอนามัย ครั้งที่ 2/2555 วันที่ มิถุนายน 2555 ณ โรงแรมเมธาวลัย ชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ลาวัณย์ ขำเลขะสิงห์ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย

2 สถานการณ์การพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ.2547-2555
1 ทบทวนบทบาท ภารกิจและโครงสร้าง กรมอนามัย 2 3 การประเมินผล การปฏิบัติราชการ ตามคำรับรอง การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการ ภาครัฐ

3 ทบทวนบทบาท ภารกิจและโครงสร้าง กรมอนามัย
1 เพื่อให้เหมาะสมกับยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยสถานการณ์และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2552 โครงสร้างการบริหารงาน ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย

4 กรมอนามัย โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการกรมอนามัยตามกฎกระทรวง พ.ศ.2552
ที่ปรึกษา กลุ่มตรวจสอบภายใน กลุ่มภารกิจด้านการส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มภารกิจด้าน อนามัยสิ่งแวดล้อม กลุ่มภารกิจบริหาร กลยุทธ์ระดับพื้นที่ กลุ่มภารกิจอำนวยการ สำนักส่งเสริมสุขภาพ สำนักอนามัย สิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 1-12 สำนักงานเลขานุการ กรมอนามัย สำนักทันตสาธารณสุข สำนักสุขาภิบาล อาหารและน้ำ กองแผนงาน ศูนย์พัฒนาอนามัย พื้นที่สูง กองการเจ้าหน้าที่ สำนักโภชนาการ กองประเมิน ผลกระทบต่อสุขภาพ กลุ่มพัฒนาความ ร่วมมือทันตสาธารณสุข ระหว่างประเทศ กองคลัง สำนักอนามัยการ เจริญพันธุ์ กลุ่มบริหารกฎหมาย สาธารณสุข กลุ่มพัฒนา ระบบบริหาร กองออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพ ศูนย์ห้องปฏิบัติการ หน่วยงานเดิม ยกฐานะเป็นสำนัก เป็นกลุ่มตามกฎกระทรวงไม่มี บก. แบ่งโครงสร้างภายในกรม

5 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยงานกรมอนามัย
พ.ศ ความเป็นมา ครม. มีมาตรการระงับการขอจัดตั้งหน่วยงานใหม่ ให้ส่วนราชการวางแผนในการพัฒนาหน่วยงาน ครอบคลุม :-บทบาทภารกิจโครงสร้าง ระบบ กระบวนการทำงานและกรอบอัตรากำลัง ตัดสินใจ อย่างเป็นระบบ กรมอนามัยทำอะไร กรมอนามัยจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยงาน ประกอบด้วย ข้อมูลพื้นฐานของกรมอนามัย การวิเคราะห์ความเชื่อมโยงรัฐธรรมนูญ เป้าหมายของรัฐบาล แผนยุทธศาสตร์ และ ข้อเสนอการปรับปรุงบทบาทภารกิจและโครงสร้างของกรมอนามัย จะทำอะไรต่อไป กรมอนามัยมีมติ (11พ.ค.55) ให้จัดทำร่างกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการภายในกรมอนามัย เพื่อปรับปรุงโครงสร้างของกรมอนามัยเป็นการภายในคู่ขนานไป ระหว่างรอการรับรองแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยงานจากสำนักงาน ก.พ.ร. และคณะรัฐมนตรี

6 เพื่อสร้างระบบราชการที่มีประสิทธิภาพ ความพร้อมรับผิดชอบ และโปร่งใส
2 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ นายกรัฐมนตรี และ ค.ร.ม. เพื่อสร้างระบบราชการที่มีประสิทธิภาพ ความพร้อมรับผิดชอบ และโปร่งใส ร.ม.ต. ปลัดกระทรวง โดยสร้างระบบความรับผิดชอบต่อผลงานในแต่ละระดับไว้อย่างเป็นรูปธรรม ใน 4 มิติ ได้แก่ ประสิทธิผล คุณภาพการบริการ ประสิทธิภาพ และ การพัฒนาองค์กร รองปลัด หน.กลุ่มภารกิจ อธิบดี หน่วยงานในสังกัด

7 กรอบการประเมินผลคำรับรองการปฏิบัติราชการ 2548-2554
มิติที่ 1 มิติประสิทธิผล มิติที่ 2 มิติคุณภาพบริการ ความสำเร็จในการบรรลุเป้าหมายตามแผน กระทรวง ร่วมระหว่างกระทรวง งานนโยบายสำคัญ/พิเศษของรัฐบาล กลุ่มภารกิจ ส่วนราชการ งานตามเป้าหมายผลผลิต ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย การเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วม การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ การป้องกันปราบปรามการทุจริต มิติที่ 3 มิติประสิทธิภาพ มิติที่ 4 มิติพัฒนาองค์กร อัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน ดำเนินการ การจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต การประหยัดพลังงาน การลดขั้นตอนการปฏิบัติราชการ การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ การควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน ดำเนินการตามแผนพัฒนากฎหมาย การจัดการความรู้ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ การบริหารทรัพยากรบุคลากร การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง การบริหารความเสี่ยง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ( ) 7 7

8 สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ 1. ให้มีการบูรณาการระบบการติดตามและประเมินผลภาครัฐให้มีความเป็นเอกภาพ ลดความซ้ำซ้อนและภาระงานเอกสาร ให้ส่วนราชการมุ่งเน้นเฉพาะตัวชี้วัดหลักที่มีความจำเป็น โดยมีกรอบการประเมินผล 2 มิติคือ มิติภายนอกน้ำหนักร้อยละ 70 มิติภายในน้ำหนักร้อยละ 30 2. ให้ยกเลิกตัวชี้วัดที่ไม่จำเป็น เช่น 1) การพัฒนาศูนย์บริการร่วม 2) การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ 3) การควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง 4) การดำเนินการตามแผนพัฒนากฎหมาย 5) การตรวจสอบภายใน เป็นงานประจำ รายงานตรงต่อหน่วยงานกลาง เช่น สตง. คตป.

9 กรอบการประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) ประเมินผลลัพธ์/ ผลผลิต ระดับความสำเร็จในการบรรลุเป้าหมาย 1. ระดับกระทรวง (20) 2. ร่วมระหว่างกระทรวง (10) 3. กลุ่มภารกิจ (10) 4. กรมอนามัย (20) การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ 10) 5. ร้อยละของระดับความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ (7) 6. ร้อยละของระดับความพึงพอใจ ของผู้กำหนดนโยบาย (3) มิติภายนอก (ร้อยละ 70) มิติภายใน (ร้อยละ 30) การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ 15) 7. ระดับความสำเร็จของการจัดทำ ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต (5) 8. ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่าย เงินงบประมาณตามแผน (5) 9. ระดับความสำเร็จของปริมาณผลผลิตที่ทำ ได้จริงเปรียบเทียบกับเป้าหมายผลผลิต ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย (5) การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ 15) 10. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร (5) 11. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ (5) 12. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ (5)

10 สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ 3. การกำหนดตัวชี้วัดในมิติประสิทธิผล เป็นตัวชี้วัดที่สำคัญ สะท้อนการบรรลุตามยุทธศาสตร์ และภาพลักษณ์ความเป็นกรมอนามัย การวัดความสำเร็จของตัวชี้วัด ควรวัดระดับผลลัพธ์ที่ส่งผลกระทบถึงประชาชน ไม่ใช่วัดกระบวนการทำงาน หน่วยวัด แสดงให้เห็นความครอบคลุมของกลุ่มเป้าหมาย เช่น ร้อยละ อัตรา มากกว่าวัดที่จำนวน Ex.   ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนให้โรงพยาบาลมีกระบวนการเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ระดับความสำเร็จของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง ผ่านเกณฑ์ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ระดับความสำเร็จของ สสจ.ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินเป็นองค์กรไร้พุง ร้อยละของ รพ.ที่ผ่านเกณฑ์ (HPH+) ร้อยละของ รพ.สายใยรักษ์แห่งครอบครัวผ่านเกณฑ์ระดับทอง จำนวนจังหวัดที่มีสถานบริการสาธารณสุขต้นแบบลดโลกร้อน

11 การดำเนินงาน PMQA ของกรมอนามัย
3 ปี 2548 ปี ปี ให้ความรู้ แก่ทีมนำ ของหน่วยงาน 200 คน ครั้ง วัน เป็นKPIของกรม ให้ความรู้แก่ทีมนำ ของหน่วยงาน อบรมหลักสูตรผู้ตรวจประเมิน มีหน่วยงานต้นแบบ 7 หน่วย ตรวจเยี่ยมหน่วยงาน ทุกหน่วยงานทำเต็มรูปแบบ และส่งแผนพัฒนาองค์กร 2 แผน/ปี เป็นKPIของกรม พัฒนาเกณฑ์ระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) เป็นกรอบในการประเมิน ให้เลือกปีละ2 หมวด - ปี2552 หมวด 3 6 - ปี2553 หมวด 1 4 - ปี2554 หมวด 2 5 มุ่งเน้นให้ปรับปรุงองค์การ โดยการวัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของ แผนพัฒนาองค์การ หน่วยงานร่วมทำบางส่วน

12 สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ตัวชี้วัด PMQA ไม่ประเมินกระบวนการ หรือแผนปรับปรุง แต่ประเมินระดับผลผลิต ผลลัพธ์ :- 1) การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร (KPI 10) 2) ความพึงพอใจของผู้ใช้ และประสิทธิภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (KPI 11) 3) บรรยากาศภายในองค์กร ซึ่งสะท้อนจากความคิดเห็นและการให้ความสำคัญของคนในองค์กรต่อปัจจัยต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานและการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน 5 เรื่อง (KPI 12) สำนักงาน ก.พ.ร.เชิญชวนให้ส่วนราชการดำเนินการต่อไป เพื่อมุ่งสู่ การเสนอเข้ารับรางวัล และเตรียมความพร้อมของหน่วยงานราชการ เข้าสู่ประชาคมอาเซียน Survey Online

13 สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต
ระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ให้มีระบบสารสนเทศฐานข้อมูล เชื่อมโยงฐานข้อมูลกลางของประเทศ และฐานข้อมูลของส่วนราชการเข้าไว้ในฐานข้อมูลร่วมกัน โดย... ส่วนราชการ นำเข้าข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลตัวชี้วัดตามระบบ การประเมินผล หน่วยงานกลาง ประมวลผลข้อมูลผ่านทางระบบ StatXchange ประชาชน สามารถดึงข้อมูลในฐานข้อมูลไปใช้งานได้

14 นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการข้อมูลอย่างเป็นระบบ
ออกแบบระบบโปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการจัดการฐานข้อมูลให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถดึงข้อมูลที่อยู่ในฐานข้อมูลไปใช้งานได้อย่างเหมาะสม หน่วยงานกลางสามารถเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศได้ ฐานข้อมูลกลางของประเทศ ฐานข้อมูล ของส่วนราชการ Accountability Report กรม Database ภายในอื่น ๆ ระบบ GES Database กลาง เช่น GFMIS, e-Budgeting ระบบ GES กรม Database ภายในอื่น ๆ ระบบ GES กรม Database ภายในอื่น ๆ ระบบ GES กรม Database อื่น ๆ แต่ละส่วนราชการมีหน้าที่ที่จะต้องนำเข้าข้อมูลพื้นฐานของตนไว้ในระบบ เพื่อพร้อมต่อการรายงานและการตรวจสอบสาธารณะ (Public Accountability) ประมวลผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต และระบบ Stat Xchange ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ 14 14

15 ความสำเร็จของการพัฒนาระบบราชการกับเงินรางวัล
ปี คะแนน ลำดับ เงินรางวัล (บาท) 2547 4.7718 1 13,546,779.35 2548 4.4287 3 13,038,607.83 2549 4.8265 13,479,486.38 2550 4.5515 13,473,272.17 2551 4.2960 12,350,118.68 2552 4.2166 6 2,429,358.58 มีเงินเหลือจ่าย 1,079,200.00 2553 4.6549 12,126,265.71 ไม่มีเงินเหลือจ่าย 2554 2555 สำนักงาน ก.พ.ร. ตั้งงบประมาณเงินรางวัล วงเงินปีละ 5,500 ล้านบาท ค.ร.ม.อนุมัติวงเงินรางวัล 1,000 ล้านบาท โดยให้ใช้เงินเหลือจ่าย - ค.ร.ม.ไม่ให้ตั้งงบประมาณแต่ให้ใช้เงินเหลือจ่ายเป็นเงินรางวัล - กระทรวง สธ.ไม่มีนโยบายให้กันงบประมาณเป็นเงินเหลือจ่ายสำหรับรางวัล รอผลการประเมิน 5

16 บทเรียนจากการดำเนินงาน
ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย เกิดจากผู้มีบทบาทสำคัญ 4 กลุ่มคือ (1) ผู้บริหารของกรมอนามัย ได้แก่ อธิบดี รองอธิบดี ผู้นำการบริหารการเปลี่ยนแปลง(CCO) ผู้บริหารของหน่วยงาน ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาระบบราชการ และได้กำหนดนโยบายการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัยไว้ชัดเจน (2) เจ้าภาพตัวชี้วัดจัดทำเกณฑ์ระดับหน่วยงาน กำกับติดตามจัดทำรายงาน และหลักฐานครบถ้วน (3) บุคลากรของกรมอนามัยให้ความร่วมมือในการดำเนินการตามนโยบายและแนวทางของกรมอนามัยเป็นอย่างดี (4) เครือข่าย กพร.กรมอนามัย แสดงบทบาทเป็นผู้ประสาน ถ่ายทอด ผลักดันและร่วมดำเนินการให้เกิดการพัฒนาระบบราชการภายในหน่วยงาน

17 เป็นองค์กรที่เป็นเลิศหรือยัง
บทเรียนจากการดำเนินงาน กรอบการพัฒนาระบบราชการ ที่ผ่านมา สำนักงาน ก.พ.ร.กำหนดตัวชี้วัดและวิธีการประเมินผลมาเป็นเรื่อง ๆ และสร้างหลักเกณฑ์ให้ส่วนราชการจัดทำรายละเอียดเอกสารจำนวนมากเพื่อง่ายต่อการประเมิน ทำให้เกิดการดำเนินการแบบแยกส่วนเพื่อตอบโจทย์การบ้านส่งสำนักงาน ก.พ.ร. และเป็นภาระในการจัดทำเอกสาร ใช้เวลาและกำลังคนมาก เช่น PMQA การป้องกันปราบปรามการทุจริต เป็นต้น ซึ่งกรมอนามัยสามารถดำเนินการได้ครบถ้วน กรมอนามัย เป็นองค์กรที่เป็นเลิศหรือยัง


ดาวน์โหลด ppt สถานการณ์การพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google