งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประเด็นการประเมินผลคะแนน 1. มีการจัดทำแผนปฏิบัติการ ปี 52 โดยใช้ข้อมูลนำเข้าที่กำหนด10 2. แผนปฏิบัติการ ปี 52 มีประเด็นตามที่กำหนด และได้รับความ เห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประเด็นการประเมินผลคะแนน 1. มีการจัดทำแผนปฏิบัติการ ปี 52 โดยใช้ข้อมูลนำเข้าที่กำหนด10 2. แผนปฏิบัติการ ปี 52 มีประเด็นตามที่กำหนด และได้รับความ เห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประเด็นการประเมินผลคะแนน 1. มีการจัดทำแผนปฏิบัติการ ปี 52 โดยใช้ข้อมูลนำเข้าที่กำหนด10 2. แผนปฏิบัติการ ปี 52 มีประเด็นตามที่กำหนด และได้รับความ เห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน 20 3. ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ ปี 52 แล้วเสร็จครบถ้วน และ ตัวชี้วัดมีผลสำเร็จเป็นไปตามเป้าหมาย 20 4. จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ และ ได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน 10 5. ดำเนินการตอบสนองต่อข้อร้องเรียนเรื่องการทุจริตฯได้ครบถ้วน10 6. การมีส่วนร่วมของหน่วยงานในกิจกรรมส่วนรวมเกี่ยวกับการ สร้างราชการใสสะอาดและการป้องกันการทุจริตของกรมอนามัย ตามที่ เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 6 และ/หรือคณะทำงานส่งเสริมสนับสนุนการรักษา จรรยาข้าราชการกรมอนามัย กำหนด 30 ตัวชี้วัดที่ 6 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต น้ำหนัก : ร้อยละ 100 พิจารณาจากความสำเร็จของการดำเนินการตามประเด็นการประเมินผล

2 1.มีการจัดทำแผนฯ ที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการการสร้างราชการใสสะอาดและการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริต ของกรมอนามัย ปี 52 (จะแจ้งเวียนหน่วยงาน และ นำขึ้น เว็บ กรมอนามัยใสสะอาดภายใน 31 มี.ค. 52) และ สอดคล้องกับบริบทของหน่วยงาน โดยใช้ข้อมูล จาการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลของหน่วยงาน ดังนี้ 1.1 ความเสี่ยงต่างๆ ที่อาจจะก่อให้เกิดการทุจริต 1.2 ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ปี 51 1.3 ข้อมูลที่ได้จากระบบการรับฟังข้อร้องเรียน 1.4 วิเคราะห์ความเสี่ยงที่อาจจะก่อให้เกิดการทุจริต อย่างน้อย 1 โครงการ (โครงการที่ได้รับงบประมาณสูงสุด หรือ โครงการสำคัญที่ส่งผลต่อความสำเร็จตามยุทธศาสตร์ของกรม อนามัย ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552) 1.มีการจัดทำแผนฯ ที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการการสร้างราชการใสสะอาดและการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริต ของกรมอนามัย ปี 52 (จะแจ้งเวียนหน่วยงาน และ นำขึ้น เว็บ กรมอนามัยใสสะอาดภายใน 31 มี.ค. 52) และ สอดคล้องกับบริบทของหน่วยงาน โดยใช้ข้อมูล จาการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลของหน่วยงาน ดังนี้ 1.1 ความเสี่ยงต่างๆ ที่อาจจะก่อให้เกิดการทุจริต 1.2 ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ปี 51 1.3 ข้อมูลที่ได้จากระบบการรับฟังข้อร้องเรียน 1.4 วิเคราะห์ความเสี่ยงที่อาจจะก่อให้เกิดการทุจริต อย่างน้อย 1 โครงการ (โครงการที่ได้รับงบประมาณสูงสุด หรือ โครงการสำคัญที่ส่งผลต่อความสำเร็จตามยุทธศาสตร์ของกรม อนามัย ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552) ประเด็นการประเมินผลคะแนน 1. มีการจัดทำแผนปฏิบัติการ ปี 52 โดยใช้ข้อมูลนำเข้าที่กำหนด10 เงื่อนไข : จะพิจารณาปรับลด 1-3 คะแนนตามคุณภาพของการวิเคราะห์ข้อมูล หลักฐาน : เอกสารที่แสดงการวิเคราะห์ข้อมูลในข้อ 1.1 – 1.4

3 แบบรายงานแผน – 52/2

4 ประเด็นการประเมินผลคะแนน 2. แผนปฏิบัติการ ปี 52 มีประเด็นตามที่กำหนด และได้รับความ เห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน 20 2. แผนฯ ระบุกิจกรรม/โครงการ 2.1 สอดคล้องกับ แผนปฏิบัติการ ปี 52 ของกรมอนามัย 2.2 ครอบคลุมการบริหารความเสี่ยงที่อาจจะก่อให้เกิดการทุจริตฯ โครงการสำคัญ อย่างน้อย 1 โครงการที่กำหนดในข้อ 1 * และแผนปฏิบัติการฯต้องได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน 2. แผนฯ ระบุกิจกรรม/โครงการ 2.1 สอดคล้องกับ แผนปฏิบัติการ ปี 52 ของกรมอนามัย 2.2 ครอบคลุมการบริหารความเสี่ยงที่อาจจะก่อให้เกิดการทุจริตฯ โครงการสำคัญ อย่างน้อย 1 โครงการที่กำหนดในข้อ 1 * และแผนปฏิบัติการฯต้องได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน เงื่อนไข : จะพิจารณาปรับลดคะแนน 1-5 คะแนนตามคุณภาพและความทันเวลาในการส่ง หลักฐาน : รายงานตาม แบบรายงานที่กำหนด (ส่งมาพร้อมรายงานรอบ 6 เดือน)

5 แบบรายงานแผน – 52/1

6 ประเด็นการประเมินผลคะแนน 3. ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ ปี 52 แล้วเสร็จครบถ้วน และ ตัวชี้วัดมีผลสำเร็จเป็นไปตามเป้าหมาย 20 3. ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ ฯ 2552 ของหน่วยงาน 3.1 ได้แล้วเสร็จครบถ้วน และ 3.2 ตัวชี้วัดที่ระบุในแผนปฏิบัติการฯ มีผลสำเร็จเป็นไปตามเป้าหมาย 3. ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ ฯ 2552 ของหน่วยงาน 3.1 ได้แล้วเสร็จครบถ้วน และ 3.2 ตัวชี้วัดที่ระบุในแผนปฏิบัติการฯ มีผลสำเร็จเป็นไปตามเป้าหมาย เงื่อนไข : จะพิจารณาปรับลดคะแนนตามสัดส่วนของความครบถ้วนของการดำเนินการตาม แผนฯ และผลสำเร็จตามเป้าหมาย หลักฐาน : รายงานตามแบบรายงานที่กำหนด และ หลักฐานการดำเนินงานตามแผน

7 แบบสรุปผลงาน – 52/1

8 ประเด็นการประเมินผลคะแนน 4. จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ และ ได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน 10 4. จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนฯ 4.1 รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะสำหรับการจัดทำแผนปฏิบัติการฯ ปี 53 ได้แล้วเสร็จ 4.2 พร้อมทั้งได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน 4. จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนฯ 4.1 รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะสำหรับการจัดทำแผนปฏิบัติการฯ ปี 53 ได้แล้วเสร็จ 4.2 พร้อมทั้งได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน เงื่อนไข : จะพิจารณาปรับลดคะแนน 1-3 คะแนน ตามคุณภาพของการจัดทำรายงานและ ความทันเวลาในการจัดส่งรายงานตามเวลาที่กำหนด หลักฐาน : หลักฐานเดียวกับข้อ 3

9 ประเด็นการประเมินผลคะแนน 5. ดำเนินการตอบสนองต่อข้อร้องเรียนเรื่องการทุจริตฯได้ครบถ้วน10 5. ดำเนินการตอบสนองต่อข้อร้องเรียน ของเจ้าหน้าที่ในสังกัดในปี 52 ได้ ครบถ้วน 5.1 เรื่องการทุจริตหรือการปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ และ 5.2 ข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามจรรยาข้าราชการ 5. ดำเนินการตอบสนองต่อข้อร้องเรียน ของเจ้าหน้าที่ในสังกัดในปี 52 ได้ ครบถ้วน 5.1 เรื่องการทุจริตหรือการปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ และ 5.2 ข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามจรรยาข้าราชการ เงื่อนไข : จะพิจารณาปรับลดคะแนนตามสัดส่วนของความไม่ครบถ้วนในการดำเนินการ ตอบสนองต่อข้อร้องเรียนฯ หลักฐาน : รายงานตามแบบรายงานที่กำหนด

10 แบบรายงานการตอบสนองข้อร้องเรียน - 52

11 ประเด็นการประเมินผลคะแนน 6. การมีส่วนร่วมของหน่วยงานในกิจกรรมส่วนรวมเกี่ยวกับการ สร้างราชการใสสะอาดและการป้องกันการทุจริตของกรมอนามัย ตามที่ เจ้าภาพตัวชี้วัดที่ 6 และ/หรือคณะทำงานส่งเสริมสนับสนุนการรักษา จรรยาข้าราชการกรมอนามัย กำหนด 30 เงื่อนไข : จะพิจารณาปรับลดคะแนนตามสัดส่วนของการไม่เข้าร่วมกิจกรรมที่กำหนด หลักฐาน : รวบรวมจากเจ้าภาพกิจกรรมโดยตรง เช่น - โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนางานสร้างราชการใสสะอาด และการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตของกรมอนามัย” เมื่อ 17 -18 ก.พ. 52 รร. เอบี น่า เฮาส์ (ทุกหน่วยงาน) - โครงการสร้างเสริมจรรยาข้าราชการเพื่อพัฒนาจิตสำนึกที่ดีในการ ปฏิบัติงานของบุคลากรกรมอนามัย ณ สวนป่าสุขกาโร อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา เดือน พ.ค. 52 (เฉพาะหน่วยงานส่วนกลาง) - โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “สร้างความเข้มแข็งให้กับเจ้าหน้าที่และ เครือข่ายภาคประชาชน” ( ทุกหน่วยงาน ) เป็นต้น เช่น - โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนางานสร้างราชการใสสะอาด และการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตของกรมอนามัย” เมื่อ 17 -18 ก.พ. 52 รร. เอบี น่า เฮาส์ (ทุกหน่วยงาน) - โครงการสร้างเสริมจรรยาข้าราชการเพื่อพัฒนาจิตสำนึกที่ดีในการ ปฏิบัติงานของบุคลากรกรมอนามัย ณ สวนป่าสุขกาโร อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา เดือน พ.ค. 52 (เฉพาะหน่วยงานส่วนกลาง) - โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “สร้างความเข้มแข็งให้กับเจ้าหน้าที่และ เครือข่ายภาคประชาชน” ( ทุกหน่วยงาน ) เป็นต้น

12 1.หน่วยงานต้องจัดทำและส่งรายงาน/หลักฐานอ้างอิงไปยังผู้ประสานงาน 1) รายงานประเมินผลตนเองตามแบบที่ กพร. กรมอนามัยกำหนด 2) แบบรายงานแผน – 52/1 และแบบรายงานแผน – 52/2 3) แบบสรุปผลงาน – 52/1 และแบบสรุปผลงาน – 52/2 4) แบบรายงานการตอบสนองข้อร้องเรียน -52 และ 5) หลักฐานอ้างอิง 2. กรณีที่ส่งรายงาน และ/หรือหลักฐานอ้างอิง เกินกว่า ระยะเวลาที่ กพร. กรม อนามัยกำหนด ในแต่ละครั้ง รอบ 6 9 และ 12 เดือน จะพิจารณาปรับลดครั้งละ 1 - 5 คะแนน ตามความเหมาะสม 3. กรณีส่งรายงาน และ/หรือหลักฐานอ้างอิงทางอีเมล์ โปรดตรวจสอบว่าได้ส่งถึง ผู้รับแล้ว 1.หน่วยงานต้องจัดทำและส่งรายงาน/หลักฐานอ้างอิงไปยังผู้ประสานงาน 1) รายงานประเมินผลตนเองตามแบบที่ กพร. กรมอนามัยกำหนด 2) แบบรายงานแผน – 52/1 และแบบรายงานแผน – 52/2 3) แบบสรุปผลงาน – 52/1 และแบบสรุปผลงาน – 52/2 4) แบบรายงานการตอบสนองข้อร้องเรียน -52 และ 5) หลักฐานอ้างอิง 2. กรณีที่ส่งรายงาน และ/หรือหลักฐานอ้างอิง เกินกว่า ระยะเวลาที่ กพร. กรม อนามัยกำหนด ในแต่ละครั้ง รอบ 6 9 และ 12 เดือน จะพิจารณาปรับลดครั้งละ 1 - 5 คะแนน ตามความเหมาะสม 3. กรณีส่งรายงาน และ/หรือหลักฐานอ้างอิงทางอีเมล์ โปรดตรวจสอบว่าได้ส่งถึง ผู้รับแล้ว เงื่อนไข: ผู้ประสานงาน :  นางสาวรัชวรรณ กล้าปีกแดง E-mail address: naruk@anamai.moph.go.thnaruk@anamai.moph.go.th กลุ่มยุทธศาสตร์บริหารงานบุคคลและประสานราชการใสสะอาด กองการเจ้าหน้าที่ กรมอนามัย โทรศัพท์: 02 590 4036 โทรสาร: 02 591 8205 และ 02 590 4080

13

14 ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 น. ความประพฤติชั่ว ถ้าเป็นความประพฤติชั่วทางกายเรียกว่า กายทุจริต ถ้าเป็น ความประพฤติชั่วทางวาจา เรียกว่า วจีทุจริต ถ้าเป็นความประพฤติชั่วทางใจ เรียกว่า มโนทุจริต ก. โกง เช่น การทุจริตในการสอบ คดโกง, ฉ้อโกง เช่นทุจริตต่อหน้าที่ ว. ไม่ซื่อตรง เช่น คนทุจริต ทุจริต คำว่า “โดยทุจริต “ เป็นคำที่มีความหมายพิเศษ ที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา 1 (1) แสดงถึงมูลเหตุจูงใจให้บุคคลกระทำ “เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่ มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายสำหรับตนเองหรือผู้อื่น” “ทุจริตต่อหน้าที่” ตาม พรบ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 4 หมายถึง “การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใด อย่างหนึ่งในตำแหน่งหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในพฤติการณ์ที่อาจทำให้ผู้อื่นเชื่อ ว่ามีตำแหน่งหรือหน้าที่ทั้งที่ตนมิได้มีตำแหน่งหรือหน้าที่นั้น หรือใช้อำนาจใน ตำแหน่งหน้าที่ทั้งนี้เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบสำหรับตนเองหรือ ผู้อื่น” การทุจริตต่อหน้าที่ มีความหมายเช่นเดียวกับการประพฤติไม่ ชอบ แต่ไม่แพร่หลายมากนัก หมายถึงกรณีที่ เจ้าหน้าใช้ตำแหน่งหน้าที่ไปในทางที่ ไม่ถูกต้อง แต่ไม่เกี่ยวข้องกับการเรียกร้องเงิน

15 การทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ การที่เจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิบัติหรือละเว้นไม่ปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งในตำแหน่งหรือ หน้าที่หรือ ใช้อำนาจในตำแหน่งหรือหน้าที่เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่ไม่ควรได้โดยชอบสำหรับ ตนเองหรือผู้อื่น หรือ ใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่อันเป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย ระเบียบบังคับ คำสั่ง มติ ของคณะรัฐมนตรีอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งมุ่งหมายจะควบคุมดูแล การรับ การเก็บรักษา การใช้เงินหรือทรัพย์สินของ แผ่นดิน ไม่ว่าการปฏิบัติหรือละเว้นไม่ปฏิบัตินั้น เป็นการทุจริตในวงราชการด้วยหรือไม่ก็ ตาม และให้ความหมายรวมถึงการประมาทเลินเล่อในหน้าที่ดังกล่าว ความหมายการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการนี้เทียบได้กับคำว่า Corruption ในภาษาอังกฤษ

16 ธานินทร์ กรัยวิเชียร ได้ให้ความเห็นว่า Corruption น่าจะหมายถึงการ “ฉ้อ ราษฎร์บังหลวง” ซึ่งมีความหมายกว้างกว่า คำว่า การทุจริต โดยคำว่า คอร์รัปชั่นนั้น หมายถึง การเบียดบังหรือยักยอกทรัพย์ของรัฐและของสาธารณะ โดยรวมถึงการ กินสินบาดคาดสินบนและแสวงหาอำนาจโดยวิธีการอันผิดทำนองคลองธรรม ซึ่ง อาจไม่ผิดต่อกฎหมายอาญา แต่ก็ถือว่าเป็นการคอร์รัปชั่นด้วย จากความคิดเห็นของนักวิชาการหลายๆท่านจึงสรุปความหมายของคำว่า คอร์รัปชั่น หมายถึง การที่เจ้าหน้าที่ของรัฐใช้ตำแหน่งหรืออำนาจในหน้าที่ในการ แสวงหาประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อื่นซึ่งถือว่าเป็นการกระทำที่มิชอบด้วยกฎหมาย แบบแผนการทุจริตมีหลายรูปแบบ คือ การทุจริตอย่างเป็นระบบ(Systemic) อย่างแพร่หลาย (Pervasive) อย่างที่เป็นกิจวัตร(Routine) อาจจะมีขนาดเล็ก (Petty) เป็นครั้งคราว(Sporadic) ไม่ใคร่สำคัญ (Trivial) และเบาบาง (Rare) ฯลฯ

17 การทุจริตโดยทั่วไปในปัจจุบันมีลักษณะดังต่อไปนี้ การให้และการรับสินบน (การขู่เข็ญบังคับและการให้สิ่งล่อใจ) การฉกฉวยและการแปรรูปทุนของรัฐ การใช้ทรัพยากรของรัฐไปในทางมิชอบ (การปลอบแปลงเอกสาร การฉ้อฉล การใช้กองทุนของรัฐไปในทางมิชอบ) การไม่กระทำตามหน้าที่ การใช้อิทธิพลทางการค้า (แสดงบทบาทเป็นนายหน้าหรือมีผลประโยชน์ทับ-ซ้อน) ยอมรับของขวัญที่ไม่ถูกต้อง (เช็คของขวัญมูลค่าสูง) ปกปิดการบริหารงานที่ไม่ถูกต้อง (การปิดบังและการให้การเป็นเท็จ) ใช้อำนาจในทางที่ผิด (ข่มขู่ คุกคามและทำร้ายให้เกิดความเกรงกลัว) การใช้กฎเกณฑ์ ข้อบังคับต่าง ๆ (อย่างมีคติและลำเอียง) การทุจริตการเลือกตั้ง (การซื้อเสียงและการทุจริตด้วยวิธีต่าง ๆ) การแสวงหาค่าเช่าทางเศรษฐกิจ (การเรียกเก็บส่วนแบ่งอย่างผิดกฎหมาย) ผู้อุปถัมภ์กับประชานิยม (นักการเมืองให้เงินทองสิ่งของเพื่อแลกเปลี่ยนกับการ ได้รับการสนับสนุนจากประชาชน) การบริจาคเพื่อช่วยเหลือ การรณรงค์ที่ผิดกฎหมาย (การให้บริจาคเพื่อที่จะมี อิทธิพลต่อการกำหนดนโยบาย และการออกกฎหมาย)


ดาวน์โหลด ppt ประเด็นการประเมินผลคะแนน 1. มีการจัดทำแผนปฏิบัติการ ปี 52 โดยใช้ข้อมูลนำเข้าที่กำหนด10 2. แผนปฏิบัติการ ปี 52 มีประเด็นตามที่กำหนด และได้รับความ เห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google