งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Methacholine Challenge Test: Demonstration & Discussion

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Methacholine Challenge Test: Demonstration & Discussion"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Methacholine Challenge Test: Demonstration & Discussion
รองศาสตราจารย์นายแพทย์วันชัย เดชสมฤทธิ์ฤทัย สาขาวิชาโรคระบบการหายใจและวัณโรค ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

2 Methacholine Challenge Test
ความเป็นมา ข้อบ่งชี้และข้อห้าม วิธีการ การแปลผล ข้อมูลในประเทศ การสาธิต

3 Am J Respir Crit Care Med Vol 161. pp 309–329, 2000

4 ภาวะหลอดลมไวเกิน Bronchial Hyperresponsiveness (BHR)
โรคหืด = ภาวะหลอดลมไวเกิน + อาการ การตรวจความไวหลอดลม (Bronchoprovocative test) ไม่จำเพาะ (nonspecific) Methacholine Histamine Adenosine จำเพาะ Allergen challenge test

5 Bronchoprovocative Test

6 ข้อบ่งชี้ (Indication)
โรคหืดที่ไม่สามารถวินิจฉัยได้จากการตรวจ spirometry อาการไอเรื้อรังจากโรคหืด (cough-variant) ประเมินความรุนแรงของโรค ประเมินการตอบสนองต่อการรักษา โรคหืดจากอาชีพ (occupational asthma) ข้อบ่งชี้ทางกฏหมาย การวิจัย

7 ข้อห้าม (Contraindication)
ภาวะหลอดลมอุดกั้นรุนแรง FEV1<50% หรือ <1 L โรคหัวใจเฉียบพลันหรือหลอดเลือดสมอง ภายใน 3 เดือน ความดันโลหิตสูง SBP >200 หรือ DBP >100 mmHg โรคหลอดเลือดแดงโป่งพอง

8 ข้อควรระวัง (Relative contraindication)
ภาวะหลอดลมอุดกั้นปานกลาง FEV1<60% หรือ <1.5 L ไม่สามารถตรวจ spirometry ได้ ตั้งครรภ์ ให้นมบุตร ได้รับยากลุ่ม cholinesterase inhibitor

9 คุณสมบัติของผู้ทำการทดสอบ
มีความรู้และคุ้นเคย สามารถใช้และดูแลเครื่องมือได้ มีความชำนาญในการตรวจ spirometry รู้ข้อห้ามและข้อควรระวัง สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ในกรณีฉุกเฉิน มีความชำนาญในการใช้ยาและเครื่องพ่นละออง

10 ความปลอดภัยต่อผู้ป่วย (Safety)
มีแพทย์หรือบุคลากรที่ได้รับการฝีกฝนอยู่ มียาและเครื่องมือพร้อมเสมอ ข้อมูลด้านความปลอดภัย ยังไม่มีรายงานถึงผลข้างเคียงรุนแรง ผลข้างเคียงชั่วคราว เหนื่อย แน่นหน้าอก วี้ด

11 ความปลอดภัยต่อผู้ทดสอบ
ห้องตรวจควรมีอากาศถ่ายเท (>2 exchanges/h) ผู้ตรวจยืนห่างพอสมควร ผู้ตรวจที่เป็นโรคหืด ควรมีการป้องกันเพิ่มเติม อุปกรณ์ Filters, fume hood, dosimeter

12 เครื่องพ่นละออง (Nebulizer)
Wright nebulizer DeVilbiss 646

13 การเตรียมผู้ป่วย ให้ผู้ป่วยหยุดยาบางขนาน อธิบายผู้ป่วย
ให้ผู้ป่วยลงลายมือชื่อยินยอม ทบทวนข้อควรระวังและการใช้ยาของผู้ป่วย ทำการตรวจในท่านั่งที่สบาย

14 ปัจจัยที่มีผลต่อความไวหลอดลม

15 ปัจจัยที่เพิ่มความไวหลอดลม
ระยะเวลา สารก่อภูมิแพ้ในบรรยากาศ 1-3 สป. สารก่อภูมิแพ้จากอาชีพ เดือน การติดเชื้อทางเดินหายใจ 3-6 สป. มลภาวะทางอากาศ 1 สป. ควันบุหรี่ ไม่แน่นอน สารเคมี วัน-เดือน

16 Dosing protocol 2-min Tidal breathing method
0.03, 0.06, 0.125, 0.25, 0.50, 1, 2, 4, 8, 16 Five breath dosimeter method 0.0625, 0.25, 1, 4, 16 mg/ml

17

18 Five Breath Dosimeter Method (1)
เตรียมเครื่องพ่นละออง เตรียมน้ำยา methacholine (Diluent) , 0.25, 1, 4, 16 mg/ml นำออกจากตู้เย็น 30 นาทีก่อนการตรวจ บรรจุน้ำยา 2 มล. ใน nebulizer ตรวจ baseline spirometry ให้ผู้ปวยถือ nebulizer ตั้งตรง ใช้ปากคาบ mouthpiece ติด noseclip เปิด nebulizer พร้อมบอกให้ผู้ป่วยหายใจเข้าช้าๆและลึกจนเต็มปอด ใช้เวลาประมาณ 5 วินาที และ กลั้นนิ่งไว้อีก 5 วินาที ทำซ้ำดังข้างต้นจนครบ 5 ครั้ง ใช้เวลาทั้งหมดไม่เกิน 2 นาที

19 Five Breath Dosimeter Method (2)
วัด FEV1 ที่เวลา 30 และ 90 วินาที หลังจากนั้น หากไม่ได้ acceptable curve ให้วัดซ้ำได้แต่ไม่เกิน 3-4 ครั้งในแต่ละความเข้มข้น และไม่ควรเกิน 3 นาที ให้รักษาช่วงห่างระหว่างแต่ละความเข้มข้น 5 นาที ให้ใช้ค่า FEV1 สูงสุดของแต่ละความเข้มข้น ถ้าค่า FEV1 ลดลงน้อยกว่า 20% ให้ทำเหมือนเดิมที่ความเข้มข้นถัดไป ถ้าค่า FEV1 ลดลงมากกว่า 20% ให้หยุด บันทึกอาการและอาการแสดง บริหารยา inhaled B-agonist รอ 10 นาที วัด FEV1 ซ้ำ

20

21

22

23

24 Bronchoprovocative Test

25 การแปลผล

26 การแปลผล

27 การแปลผลการตรวจ >16 Normal bronchial responsiveness 4.0-16
PC20 (mg/ml) การแปลผล >16 Normal bronchial responsiveness 4.0-16 Borderline BHR Mild BHR (positive test) <1.0 Moderate to severe BHR

28 การแปลผลการตรวจ

29 BHR in Thailand 5 Geographical regions Central North-eastern Southern
Chiangrai Nan Phrae Lampoon Udon Sakon Nakhon Phanom Ubon Surin Buriram Ratchasima Suphan Pathum Nontaburi Rayong Patthalung Narathiwat Prachuab Phuket BHR in Thailand 5 Geographical regions Central North-eastern Southern Northern Bangkok

30 ความชุกในประเทศไทย Case Total Prevalence (%) 95% CI BHR 104 3141 3.31
Definite asthma 92 3163 2.91 Diagnosed asthma 112 3443 3.25

31 Region-specific Prevalence of BHR

32 Age-specific Prevalence of BHR

33 Sex-specific Prevalence

34 Methacholine Challenge Test
ความเป็นมา ข้อบ่งชี้และข้อห้าม วิธีการ การแปลผล ข้อมูลในประเทศ การสาธิต

35 Thank you


ดาวน์โหลด ppt Methacholine Challenge Test: Demonstration & Discussion

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google