งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาระบบบริการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (echocardiography)ผ่านผนังทรวงอกในผู้ป่วยเด็ก L047 การพัฒนาระบบบริการตรวจหัวใจ ด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาระบบบริการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (echocardiography)ผ่านผนังทรวงอกในผู้ป่วยเด็ก L047 การพัฒนาระบบบริการตรวจหัวใจ ด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาระบบบริการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (echocardiography)ผ่านผนังทรวงอกในผู้ป่วยเด็ก L047 การพัฒนาระบบบริการตรวจหัวใจ ด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (echocardiography) ผ่านผนังทรวงอกในผู้ป่วยเด็ก หัวหน้าทีม นางวิภาวิน วัฒนะประการชัย ผู้ร่วมทีม แพทย์หญิงชดชนก วิจารสรณ์ นางกาญจนา หวานสนิท นางสาวศิรินธร ถือแก้ว นายสุรเชษฐ์ วงษ์พลบ ผู้ประสาน นางวิภาวิน วัฒนะประการชัย ศูนย์โรคหัวใจฯ ชั้น 6 โรงพยาบาลศิริราช โทร

2 2. ขอบเขตของเรื่อง/โครงการ (SIPOC)
Supplier/ Providers Inputs Process Output Customer -พยาบาล -ผู้ช่วยพยาบาล -ผู้ปฏิบัติงานบริหาร เครื่อง echocardiography เครื่องคอมพิวเตอร์ จุดเริ่มต้น เวลานัดหมาย จุดสิ้นสุด รับใบนัด F/U ครั้งต่อไป เจ้าของ นางวิภาวิน วัฒนะประการชัย ผู้สนับสนุน หัวหน้าหอผู้ป่วย ไม่มีอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนที่สามารถป้องกันได้ ระยะเวลาการรับบริการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง ลดลง ลูกค้าภายนอก -ผู้ป่วย ลูกค้าภายใน -แพทย์

3 3. Current Value Stream เข้าห้องตรวจ กลับบ้าน นัดผู้ป่วย เวลา 13.00 น.
เตรียม ความพร้อม ลงทะเบียน Intra Procedure Pre Procedure คัดกรอง ตรวจสิทธิ์ รับใบเสร็จ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัด O2 Sat ที่ OPD เจ้าฟ้า 1 รับ ใบนัด แพทย์ให้ข้อมูล ผลการตรวจ/แนวทางการรักษาแก่ผู้ปกครอง บางรายมีการตรวจเพิ่ม เช่น วัด O2 Sat, CXR, EKG, BP 4extremities เข้าห้องตรวจ -แพทย์ตรวจ -มีการconfirm บางราย -บางรายให้ยา Chloralhydrate รับยา แพทย์รายงาน ผลการตรวจ กลับบ้าน Post Procedure ไม่ตรวจเพิ่ม

4 4. Waste ( DOWNTIME) หัวข้อ ความสูญเปล่า
Defect rework: ทำงานซ้ำเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง เอกสารสิทธิไม่สมบูรณ์ ต้องนัดตรวจใหม่ Overproduction: การผลิตหรือให้บริการมากเกินจำเป็น Waiting: การรอคอย เด็กหลับช้าเมื่อถึงเวลาที่ต้องให้รับประทานยานอนหลับจริงๆ แพทย์เสียเวลารอ Not using staff talent: ภูมิรู้ที่สูญเปล่า ไม่มีการคัดกรอง และการระบุตัวผู้ป่วยเพื่อการดูแลรักษาที่เป็นระบบชัดเจน Transportation: การเดินทาง Inventory: วัสดุคงคลัง Motion: การเคลื่อนไหว Excessive processing:ขั้นตอนมากเกินจำเป็น

5 5. แผนภูมิสายธารแห่งคุณค่า(VSM) / Flow (หลังปรับปรุง)
นัดผู้ป่วย เวลา น. เตรียม ความพร้อม ลงทะเบียน Intra Procedure Pre Procedure คัดกรอง ตรวจสิทธิ์ รับใบเสร็จ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัด O2 Sat ที่ OPD เจ้าฟ้า 1 รับ ใบนัด แพทย์ให้ข้อมูล ผลการตรวจ/แนวทางการรักษาแก่ผู้ปกครอง บางรายมีการตรวจเพิ่ม เช่น วัด O2 Sat, CXR, EKG, BP 4extremities เข้าห้องตรวจ -แพทย์ตรวจ -มีการconfirm บางราย -บางรายให้ยา Chloralhydrate รับยา แพทย์รายงาน ผลการตรวจ กลับบ้าน Post Procedure ไม่ตรวจเพิ่ม

6 6. สรุปการดำเนินการด้วย Lean A3 Report

7 6.1 เหตุผลการทำ (Reason for Action)
การตรวจเด็กแตกต่างจากผู้ใหญ่ อายุ < 3 ปี มักไม่ร่วมมือ ต้องให้ยานอนหลับ ต้องดูแลอย่างใกล้ชิด การประเมินจากการเยี่ยมสำรวจภายในของงานพัฒนาคุณภาพ โอกาสพัฒนาของหน่วยงาน คือ การพิจารณาทบทวนจัดทำมาตรฐานของกระบวน การดูแลรักษา เด็กที่รู้เรื่องและไม่ได้ให้ยา มีความกลัว ไม่คุ้นเคย ไม่ไว้วางใจคนแปลกหน้า สร้างสัมพันธภาพ และเบี่ยงเบน ความสนใจโดยใช้ ของเล่นตามวัย

8 6.2 สภาพการณ์ปัจจุบัน (Initial State)
เวลาในการรับบริการนานขึ้น เฉลี่ย 190 นาที นับตั้งแต่เวลานัดหมายจนกระทั่ง จำหน่ายออกจากหน่วยตรวจ เด็กจะร้องไห้ งอแง เพราะความหิว ความกลัว เด็กไม่ให้ความร่วมมือ ต้องให้ยานอนหลับเพิ่ม ใช้เวลาในการรับบริการนาน บางรายไปนัด follow up คลินิกโรคหัวใจเด็ก หรือนัดฉีดสี (cardiac catheterization) ไม่ทัน ขาดมาตรฐานของการปฏิบัติงานในกระบวนการที่สำคัญ

9 6.3 เป้าหมาย (Target state)
1. ลดระยะเวลาการรับบริการตรวจ 2. ไม่มีอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนที่สามารถป้องกันได้ 3. ระบุตัวผู้ป่วยเด็กถูกต้อง ถูกคน 4. ผลการตรวจถูกต้อง ถูกคน

10 6.4 การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (Gap Analysis)

11 6.5 แนวทางในการแก้ไข (Solution Approach)
สาเหตุ: Root cause addressed แนวทางแก้ไข: Proposed solution วัตถุประสงค์: Supports Objective 1.ผู้ปกครองขาดความรู้ความเข้าใจในการ เตรียมความพร้อมทั้งตัวเด็กและสิทธิ ประโยชน์ก่อนตรวจรักษา 2.ผู้เชี่ยวชาญไม่เพียงพอให้บริการ 3.ระบบการทำงานไม่ชัดเจน มีโอกาสเกิด ความบกพร่องในปฏิบัติงานได้ 4.เครื่องมือและอุปกรณ์ไม่พร้อมใช้ 1.สร้างมาตรฐานการให้ข้อมูล 2. เพิ่มศักยภาพของบุคลากรในการการ ปฏิบัติงาน 3. สร้างมาตรฐานการปฏิบัติงาน 4. ระบบตรวจสอบและซ่อมบำรุงครื่องมือ ผู้ป่วยมีความพร้อมทำการตรวจ บุคลากรพร้อมให้บริการตามความ ต้องการของผู้ป่วย ลดอุบัติการณ์/ความเสี่ยง ที่อาจเกิดขึ้น มีเครื่องมือพร้อมใช้

12 6.6 การดำเนินการแก้ปัญหา (Solution Experiments)
แนวทางแก้ไข: Solution การปฏิบัติ: Actual ว.ด.ป. ที่เริ่มทำ: Date โดยใคร: By ผลลัพธ์: Result สรุปความก้าวหน้าของการทำงาน: Conclusion 1.สร้างมาตรฐานการให้ข้อมูล 2. เพิ่มศักยภาพของบุคลากรใน การการปฏิบัติงาน 3. สร้างมาตรฐานการปฏิบัติงาน 4. ระบบตรวจสอบและซ่อม บำรุงครื่องมือ 1.ให้ข้อมูลการเตรียมตัวเด็กเพื่อการตรวจ 2.ให้ข้อมูลการเตรียมเอกสารในการใช้สิทธิการ รักษา พัฒนา competency ของบุคลากร 1. สร้างระบบคัดกรองและจำแนกประเภทผู้ตรวจ ให้เหมาะสมกับ case 2. จัดทำแนวทางการให้ยานอนหลับสำหรับเด็ก 3. มี Pediatric echo. Manager 1. มีระบบการจัดการเครื่องมือราคาแพง 1 ก.พ.2552 วิภาวิน สุเชาวนี กาญจนา วันดี ลดเวลาการตรวจ Ped. Echo เพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร การทำงาน มีความคล่องตัว มีมาตรฐานการปฏิบัติงานที่ชัดเจน มีเครื่อง Echo. พร้อมใช้งาน จัดทำเป็นมาตรฐานในการปฏิบัติงานประจำ

13 ระยะเวลาการรับบริการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง ผ่านผนังทรวงอกในผู้ป่วยเด็ก
เป้าหมาย 150 นาที หลังพัฒนา เวลา (นาที) เดือน - ปี

14 กิจกรรมสำคัญที่ทำ: Outstanding Actions
ผู้รับผิดชอบ: By Whom วันที่ทำ: By Date สรุปและรายงานผลการดำเนินการ ติดตามและประเมินผลการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง วิภาวิน สุเชาวนี พฤษภาคม 2552

15 การเรียนรู้ที่ได้รับ :
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ นโยบายและการสนับสนุนจากผู้บริหาร ความรู้ ความเข้าใจใน Lean concept Teamwork ที่ดี โอกาสพัฒนา 1. บุคลากรสับสนในแนวทางการทำงานที่ปรับใหม่ 2. บุคลากรคิดว่าโครงการนี้เพิ่มภาระงาน


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาระบบบริการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (echocardiography)ผ่านผนังทรวงอกในผู้ป่วยเด็ก L047 การพัฒนาระบบบริการตรวจหัวใจ ด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google