งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาระบบราชการ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาระบบราชการ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาระบบราชการ

2 เป้าประสงค์หลักของการพัฒนาระบบราชการไทย
1. พัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนที่ดีขึ้น (better service quality) 2. ปรับบทบาท ภารกิจ และขนาดให้มีความเหมาะสม (rightsizing) 3. ยกระดับขีดความสามารถของข้าราชการและ มาตรฐานการทำงานของหน่วยงานภาครัฐให้อยู่ในระดับสูง และเทียบเท่าเกณฑ์มาตรฐานสากล (high performance) 4. ตอบสนองต่อการบริหารปกครองในระบอบประชาธิปไตย - เปิดระบบราชการสู่กระบวนการความเป็นประชาธิปไตย (democratic governance)

3 การพัฒนาระบบราชการ 1. แนวคิดและสิ่งที่ได้ดำเนินการ
1. แนวคิดและสิ่งที่ได้ดำเนินการ 2. การจัดโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน - บูรณาการแนวดิ่งและแนวนอน 3. การปรับปรุงโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม 4. การบริหารรัฐกิจแนวใหม่ - จากวิสัยทัศน์/ประเด็นยุทธศาสตร์สู่การนำไปปฏิบัติให้บรรลุผล 5. การปรับปรุงการให้บริการประชาชน 6. การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ค่านิยมและวัฒนธรรมของข้าราชการ + การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 7. การยกระดับคุณภาพมาตรฐานการทำงานของภาครัฐ 8. แนวทางการดำเนินงานในขั้นตอนต่อไป

4 แนวคิด 1 แนวคิด และการดำเนินงานที่ผ่านมา ประสิทธิภาพและความคุ้มค่า
แนวคิด และการดำเนินงานที่ผ่านมา พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ มาตรา 3/1 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ประสิทธิภาพและความคุ้มค่า พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ประสิทธิผล คุณภาพ ความรับผิดชอบต่อผลของงาน การมีส่วนร่วม ความโปร่งใส การสนองตอบ การกระจายอำนาจ แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ พ.ศ. 2550) แผนบริหารราชการแผ่นดิน (พ.ศ พ.ศ. 2551) กฎ ระเบียบ

5 แผนบริหารราชการแผ่นดิน
รัฐบาล แผนบริหารราชการแผ่นดิน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1: การขจัดความยากจน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2: การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3: การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลย์และแข่งขันได้ ส่วนราชการ/จังหวัด ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4: การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5: การต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6: การพัฒนากฎหมายและส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ส่วนราชการ/จังหวัด ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7: การส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม แผนปฏิบัติราชการ 1 ปี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8: การรักษาความมั่นคงของรัฐ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 9: การรองรับการเปลี่ยนแปลงและพลวัตรโลก

6 ยุทธศาสตร์การพัฒนา ระบบราชการไทย เ การพัฒนา ระบบราชการ
การปรับโครงสร้างระบบราชการ ( รวมถึงการพัฒนาระบบบริหารงานของกลุ่มภารกิจ และ การทำงานแบบเมตริกซ์ ) การจัดองค์กรรูปแบบใหม่ ( องค์การมหาชนและหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ (SDU)) การสอบทานการใช้จ่ายเงิน และบทบาทภารกิจ การเปิดโอกาสให้เอกชน/องค์กรที่ไม่ใช่ภาคราชการเข้ามาแข่งขันในการให้บริการสาธารณะ(Contestability) การคำนวณต้นทุนฐานกิจกรรม และการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในการถือครองทรัพย์สินของหน่วยงานในภาครัฐ (Capital Charges) ปรับบทบาท ภารกิจและขนาด ให้มีความเหมาะสม การมีส่วนร่วมของประชาชน การตรวจสอบภาคประชาชน ( People’s Audit ) กรรมการภาคประชาชน Lay Board การสร้างเครือข่ายการพัฒนาระบบราชการ เปิดระบบ ราชการ สู่กระบวนการ ประชาธิปไตย การพัฒนา ระบบราชการ เพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน พัฒนาคุณภาพ การให้บริการ ประชาชนที่ดีขึ้น การวางยุทธศาสตร์และการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ และ การประเมินผลการดำเนินงาน (Performance Scorecard) มาตรการเสริมสร้างแรงจูงใจตามผลงาน มาตรฐานการให้บริการภาครัฐ การออกแบบกระบวนการทำงานใหม่ การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย และ ระเบียบขั้นตอนที่เป็นอุปสรรค การให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e- Service) call center 1111 ศูนย์บริการร่วม (Service Link) Government Counter Services ยกระดับ ขีดความสามารถ และมาตรฐาน การทำงาน ให้อยู่ระดับสูง การบริหารการเปลี่ยนแปลง ผู้นำการเปลี่ยนแปลง การเรียนรู้ผ่านสื่อทางอีเล็กทรอนิกส์ การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ : I AM READY นักบริหารที่มีความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ นักบริหารการเปลี่ยนแปลงยุคใหม่ การปรับปรุงเงินเดือนและค่าตอบแทน รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) การเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการ คลังภาครัฐสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)

7 การจัด 2 การจัด โครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน รองนายกฯ 1 รองนายกฯ 2
การจัด โครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน นายกรัฐมนตรี รองนายกฯ 1 รองนายกฯ 2 รองนายกฯ 3 กระทรวง (รมต.) กระทรวง (รมต.) กระทรวง (รมต.) กระทรวง (รมต.) กระทรวง (รมต.) กระทรวง (รมต.) กรม กรม กรม กรม กรม กรม กรม กรม กรม กรม กรม กรม จังหวัด …… รองนายกฯ กลุ่มจังหวัด จังหวัด …… นายกรัฐมนตรี รองนายกฯ กลุ่มจังหวัด จังหวัด …… รองนายกฯ กลุ่มจังหวัด

8 กลุ่มจังหวัด 19 กลุ่ม 1. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน 1.1 2.2 3.1 3.2 2.1 4.1 4.2 4.3 5.1 6.1 6.2 6.3 7.1 8.1 8.2 8.3 9.2 9.1 6. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 6.1 อุดรธานี หนองบัวลำภู หนองคาย เลย 6.2 มุกดาหาร สกลนคร นครพนม กาฬสินธุ์ 6.3 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด 2. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2.1 พิษณุโลก ตาก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์ 2.2 นครสวรรค์ อุทัยธานี กำแพงเพชร พิจิตร 7.2 3. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 3.1 นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง 3.2 สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท 7. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 7.1 นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ 7.2 อุบลราชธานี อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร 4. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 4.1 ราชบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม กาญจนบุรี 4.2 เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร 4.3 ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ นครนายก สระแก้ว ปราจีนบุรี 5. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก 5.1 ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด 8. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง 8.2 นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง 8.3 ภูเก็ต พังงา กระบี่ 9. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน ติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน 9.1 ปัตตานี ยะลา นราธิวาส 9.2 สงขลา สตูล

9 Reshaping Public Sector
ส่วนท้องถิ่น ส่วนท้องถิ่น ส่วนภูมิภาค ส่วนภูมิภาค ส่วนกลาง ส่วนกลาง ปัจจุบัน ระยะยาว ที่มา : สุนทรพจน์ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี (พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร) 3 ตุลาคม 2547 ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล

10 การ Public Sector Private Sector 3 ปรับปรุงโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม
ส่วนราชการ หน่วย บริการ รูปแบบ พิเศษ องค์การ มหาชน หน่วยงาน ในกำกับ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงาน ภายใต้ มูลนิธิ จึงเกิดเป็นองค์การของรัฐรูปแบบที่ 3 คือ องค์การมหาชน องค์การมหาชนมีสถานภาพเป็นหน่วยงานของรัฐอีกประเภทหนึ่ง มีสถานะเป็นนิติบุคคล จัดตั้งขึ้นเพื่อรับผิดชอบภารกิจของรัฐในการให้บริการสาธารณะ หรือดำเนินกิจกรรมเฉพาะด้านที่ภาครัฐยังจำเป็นต้องดำเนินการ มีการบริหารงานในรูปคณะกรรมการ โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐให้ดำเนินกิจกรรม เป็นหน่วยงานปฏิบัติภายใต้การกำกับดูแลของฝ่ายบริหาร ซึ่งต้องรายงานผลการปฏิบัติงานและผลสัมฤทธิ์ต่อรัฐมนตรี และจะมีการติดตามตรวจสอบและการประเมินผลงานโดยกลไกภาครัฐในมาตรฐานเดียวกับหน่วยงานราชการอื่นๆ ลักษณะสำคัญขององค์การมหาชนในปี 2542 เป็นกิจการของรัฐ มีความเป็นอิสระพอสมควรจากรัฐบาล แต่มิใช่เอกเทศแบบองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ มีความเป็นอิสระในการดำเนินการกิจการที่สะท้อนออกมาใน 2 เรื่อง คือ 1) เป็นนิติบุคคล 2) รัฐบาลมีอำนาจกำกับดูแล โดยการตั้งคณะกรรมการ ให้งาน(ตามที่กำหนดไว้หน้าที่) และให้เงิน ฉะนั้น องค์การมหาชนต้องมีความเป็นอิสระแต่มิใช่ความมีเอกเทศ

11 Strategy Implementation กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์
4 การ การ บริหารรัฐกิจแนวใหม่ วางยุทธศาสตร์ Strategy Formulation นำยุทธศาสตร์ ไปปฏิบัติ Strategy Implementation ติดตาม ประเมินผล Strategic Control วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ Strategy Map แผนปฏิบัติการ กำกับติดตามและ ประเมินผล ทบทวนสถานการณ์ เพื่อวางยุทธศาสตร์ ใหม่ การปรับแต่ง กระบวนงาน โครงสร้าง เทคโนโลยี คน Blueprint for Change กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์

12 องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง
Strategy-focused Organization การบริหารกระบวนการ ลดรอบระยะเวลาดำเนินการ ประสิทธิภาพ efficiency การพัฒนาขั้นตอนการทำงานให้ดีขึ้น ลดต้นทุน & ความสูญเสีย Reengineering Lean Enterprise Six Sigma TQM เพิ่มผลผลิต กระบวนการบริหารลูกค้า ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง Blueprint for Change คุณภาพ quality การดูแลผู้รับบริการ เพิ่มคุณค่า Value Creation เพิ่มความพึงพอใจ ความโปร่งใส มีส่วนร่วม เพิ่มความไว้วางใจ การวางระบบบริหารจัดการสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ effectiveness ขีดสมรรถนะ capacity-building ทุนมนุษย์ เพิ่มความพร้อม เชิงยุทธศาสตร์ ทุนข้อมูลสารสนเทศ &ทุนความรู้ ทุนองค์กร

13 มิติการประเมินผลฯ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ 4 ด้าน
(100%) Financial Perspective Internal Work Process Perspective มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล ส่วนราชการแสดงผลงานที่บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายตามที่ได้รับงบประมาณมาดำเนินการ เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขต่อประชาชนตามแผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ส่วนราชการแสดงความสามารถในการปฏิบัติราชการเช่น การลดค่าใช้จ่าย และการลดระยะเวลาการให้บริการ เป็นต้น 50% 10% มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ส่วนราชการแสดงการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการในการให้บริการที่มีคุณภาพ สร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ส่วนราชการแสดงความสามารถในการเตรียมพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงขององค์การ ได้แก่ การพัฒนาระบบบริหารความรู้ การจัดการสารสนเทศ การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง การจัดทำแผนพัฒนากฎหมาย และการดำเนินงานตามแผนพัฒนากฎหมายของส่วนราชการ เป็นต้น 10% 30% Customer Perspective Learning & Growth Perspective

14 ทีมงานบริหารการเปลี่ยนแปลง
Reform Strategies Attractiveness สูง Capacity ต่ำ ทีมงานบริหารการเปลี่ยนแปลง (Interim/Transition Management) Attractiveness สูง Capacity ปานกลาง Attractiveness สูง Capacity สูง รักษา/พัฒนาให้ยั่งยืนต่อไป (Maintain/Strategic Posts) Attractiveness สูง Capacity ปานกลาง Attractiveness ปานกลาง Capacity ปานกลาง/ต่ำ ? Attractiveness ต่ำ Capacity สูง/ปานกลาง โอนถ่าย/โยกย้าย (Redeployment) Attractiveness ต่ำ Capacity ต่ำ ปรับรวม/ยุบเลิก

15 การ Service Links Government Counter Services Mobile team 5
การ ปรับปรุงการให้บริการประชาชน ลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ ราชการ ใสสะอาด ปราศจาก คอร์รัปชัน Call Center 1111 e-Services Service Links Government Counter Services Mobile team

16 Communication for Change
การ 6 ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ค่านิยมและ วัฒนธรรมของข้าราชการไทย และการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เก่า ใหม่ pull push I ntegrity A ctiveness M orality R elevancy E fficiency A ccountability D emocracy Y ield Promotion/ Campaign Incentives Change Agent Communication for Change

17 การ 7 ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการทำงานภาครัฐ Business Results UKQA SQA JQA
Total Quality Management Leadership Information & Analysis Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA) Business Results Strategy Deployment HR Focus Process Management Customer & Market Focus World class UK Quality Award Singapore Quality Award Thailand Quality Award UKQA SQA JQA EQA Public Sector Management Quality Award Japan Quality Award European Quality Assurance

18 แนวทาง 8 การดำเนินงานในขั้นต่อไป
การสานต่อและการขับเคลื่อนภารกิจที่ยังไม่เสร็จสิ้น - การส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การปรับปรุงโครงสร้างใหม่ และการโอนถ่ายภารกิจ อำนาจหน้าที่ และ ทรัพยากร ยุทธศาสตร์ที่ I “ความพร้อมเชิงยุทธศาสตร์”  การสร้างคุณค่า สินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ ประกอบด้วยทุนมนุษย์ และการจัดการความรู้ การบริหารการเปลี่ยนแปลง / การสื่อสารเพื่อการเปลี่ยนแปลง ยุทธศาสตร์ที่ II การบูรณาการ (join-up / connecting government) - ยุทธศาสตร์ภาครัฐ  แผนดำเนินงาน (จังหวัด/กระทรวง)  การจัดสรรงบประมาณ/คน  ระบบติดตาม ประเมินผล  การให้รางวัล/การลงโทษ Intergovernmental relations ยุทธศาสตร์ที่ III การยกเลิกกฎ ระเบียบที่ไม่เหมาะสม และการปรับปรุงกฎ ระเบียบ (Deregulation & Re-regulation) ยุทธศาสตร์ที่ IV

19 Good strategy comes first
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 2546 Good Governance New Public Management Strategic Management Strategy Formulation การวางวิสัยทัศน์และการคิดเชิงกลยุทธ์ Strategy Map การบริหารความเสี่ยง วางแผนโครงการ Strategy Implementation Org. Structure (GO/PO/SOE/SDU/etc.) Process Redesign IT (e-gov) People (Competency) Culture KM กฎหมาย Strategic Control คำรับรองการปฏิบัติราชการ (PA) BSC Individual Scorecard รายงานข้อมูลสถานการณ์เศรษฐกิจและสังคม Globalization คตป Making strategy works Good strategy comes first Public Sector Management Quality Award (PMQA) (MBNQA)

20 Strategy Implementation
Strategic Management Strategy Formulation แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ( ) แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี S W O T Vision Strategic Issue Goal (KPI / target) Strategies Strategic Control Strategy Implementation Action Plan Risk Assessment & Management Structure Process/IT Alignment Rule & Regulation People/ Culture Blueprint for Change

21 Blueprint for Change กระบวนงาน ขีดสมรรถนะ วิเคราะห์
ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์

22 การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง
3. วิเคราะห์ Gap 4. กำหนดแนวทางปรับปรุง 2. จำแนกกลยุทธ์ 1. คัดเลือก กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ กระบวนงาน กิจกรรม กลยุทธ์ที่ 1 กระบวนงาน ที่ 1 กิจกรรม ขีดสมรรถนะ กระบวนงาน ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ที่ 2 กระบวนงาน ที่ 2 กิจกรรม กลยุทธ์ที่ 3 กระบวนงาน ที่ 3 กิจกรรม

23 - ด้านกระบวนงาน ด้านขีดสมรรถนะองค์กรและบุคลากร
การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2 แบบฟอร์มที่ 1.1 ชุด 2 แบบฟอร์มที่ 4.2 และ 1.3 แบบฟอร์มที่ 5 แบบฟอร์มที่ 6 รูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ด้านกระบวนงาน สิ่งที่ต้องดำเนินการ/สิ่งที่ต้องเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร การจัดแบ่งงานและหน้าที่ ด้านขีดสมรรถนะองค์กรและบุคลากร แบบฟอร์มที่ 1 แบบฟอร์มที่ 2 แบบฟอร์มที่ 3 แบบฟอร์มที่ 4 1.1 กลยุทธ์ 1.2 Competency ที่ต้องการพัฒนา 1.3 สาเหตุที่ต้องการการพัฒนา Competency 1.4 แนวทางการพัฒนาองค์กรและบุคลากร 1.5 เลขที่อ้างอิงแนวทางการพัฒนาองค์กรและบุคลากร 1.6 หน่วยงานที่รับผิดชอบ 1.7 ระยะเวลาที่ใช้ -

24 แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน
Planning Measurement แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน (4 ปี) เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ Corporate Scorecard ยุทธศาสตร์รัฐบาล แผนปฏิบัติราชการ (4 ปี) กระทรวง/กรม กลุ่มจังหวัด/จังหวัด Strategic Business Unit Scorecard กระทรวง/กรม กลุ่มจังหวัด/จังหวัด เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด แผนปฏิบัติราชการ (รายปี) กระทรวง กรม กลุ่มจังหวัด/จังหวัด Sub-unit Scorecard Team & Individual Scorecard Budgeting

25 สิ่งที่ต้องดำเนินการในปี 2549 : Blueprint for Change
1. นำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในปี 2548 ไปปฏิบัติตามแผนที่เสนอมา ประเด็นยุทธศาสตร์ ดำเนินการแล้วในปี 2548 ประเด็นยุทธศาสตร์ นำประเด็นยุทธศาสตร์ที่เหลือมาจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเสนอในปี 2549 วันที่ 31 มีนาคม 2549 วันที่ 30 กันยายน 2549

26 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 มิติที่ 4: มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล: การบริหารการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก: ร้อยละ 10 คำอธิบาย: ระดับความสำเร็จของการบริหารการเปลี่ยนแปลงของส่วนราชการ หมายถึงความสำเร็จของการดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) ที่หน่วยงานราชการได้จัดทำขึ้นในปีงบประมาณ พ.ศ 2548 โดยเลือก 1 ประเด็นยุทธศาสตร์มาจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง สำหรับประเด็นยุทธศาสตร์ที่เหลือ หน่วยงานราชการต้องดำเนินการจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงให้ครบทุกประเด็นยุทธศาสตร์ในปีงบประมาณ พ.ศ 2549 นี้ การประเมินผลในปีงบประมาณ พ.ศ 2549 นี้ แบ่งเป็น 2 ตัวชี้วัด 1. ระดับความสำเร็จของการจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงของหน่วยงานราชการ 2. ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงของจังหวัด

27 มิติที่ 4: มิติด้านการพัฒนาองค์กร
มิติที่ 4: มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล: การบริหารการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 13.1 : ระดับความสำเร็จของการจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง น้ำหนัก: ร้อยละ 6 เกณฑ์การให้คะแนน: พิจารณาความสำเร็จในการจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงตามข้อกำหนดของสำนักงาน ก.พ.ร. ช่วงที่ 1 การประเมินผล ณ วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ 2549 กำหนดน้ำหน้กร้อยละ 3 แบ่งเป็น 1) ระยะเวลาการส่งงาน น้ำหนักร้อยละ 1 2) ความครบถ้วนของงาน น้ำหนักร้อยละ 2 ระดับคะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 1. ระยะเวลาการส่งงาน 28 เมย.49 21 เมย.49 14 เมย.49 7 เมย.49 31 มีค.49 2. ความครบถ้วนของงาน 1 2 3 4 5

28 มิติที่ 4: มิติด้านการพัฒนาองค์กร
มิติที่ 4: มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล: การบริหารการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร ความครบถ้วนของงาน : ช่วงที่ 1 ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 ไม่มีการจัดส่งข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง 2 การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงโดยครอบคลุมร้อยละ 10 ของจำนวนประเด็นยุทธศาสตร์ทั้งหมด 3 การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงโดยครอบคลุมร้อยละ 25 ของจำนวนประเด็นยุทธศาสตร์ทั้งหมด 4 การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงโดยครอบคลุมร้อยละ 50 ของจำนวนประเด็นยุทธศาสตร์ทั้งหมด 5 การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงได้ครอบคลุมทุกประเด็นยุทธศาสตร์ ทั้งนี้ สำหรับจังหวัดที่ไม่ได้จัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงครบทุกประเด็นยุทธศาสตร์ในวันที่ 31 มีนาคม 2549 ให้จัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงสำหรับประเด็นยุทธศาสตร์ที่เหลือให้ครบและส่งสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2549 เงื่อนไข: ประเด็นความครบถ้วนของงาน จะพิจารณาจากความครบถ้วนของประเด็นยุทธศาสตร์ที่จัดส่งให้สำนักงาน ก.พ.ร. ตามแบบฟอร์มรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงที่กำหนด โดยจะมีการพิจารณาและปรับลดคะแนนในเชิงคุณภาพ

29 มิติที่ 4: มิติด้านการพัฒนาองค์กร
มิติที่ 4: มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล: การบริหารการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 13.1 : ระดับความสำเร็จของการจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงของหน่วยราชการ เกณฑ์การให้คะแนน: พิจารณาความสำเร็จในการจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงตามข้อกำหนดของสำนักงาน ก.พ.ร. ช่วงที่ 2 การประเมินผล ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ 2549 กำหนดน้ำหน้กร้อยละ 3 แบ่งเป็น 1) ระยะเวลาการส่งงาน น้ำหนักร้อยละ 1 2) ความครบถ้วนของงาน น้ำหนักร้อยละ 2 ระดับคะแนน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 1. ระยะเวลาการส่งงาน 28 ตค. 49 21 ตค. 49 14 ตค. 49 7 ตค. 49 30 กย. 49 2. ความครบถ้วนของงาน 1 2 3 4 5

30 มิติที่ 4: มิติด้านการพัฒนาองค์กร
มิติที่ 4: มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล: การบริหารการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร ความครบถ้วนของงาน : ช่วงที่ 2 ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 ไม่มีการจัดส่งข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง 2 การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงโดยครอบคลุมร้อยละ 10 ของจำนวนประเด็นยุทธศาสตร์ทั้งหมด 3 การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงโดยครอบคลุมร้อยละ 25 ของจำนวนประเด็นยุทธศาสตร์ทั้งหมด 4 การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงโดยครอบคลุมร้อยละ 50 ของจำนวนประเด็นยุทธศาสตร์ทั้งหมด 5 การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงได้ครอบคลุมทุกประเด็นยุทธศาสตร์ เงื่อนไข: ประเด็นความครบถ้วนของงาน จะพิจารณาจากความครบถ้วนของประเด็นยุทธศาสตร์ที่จัดส่งให้สำนักงาน ก.พ.ร. ตามแบบฟอร์มรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงที่กำหนด โดยจะมีการพิจารณาและปรับลดคะแนนในเชิงคุณภาพ

31 มิติที่ 4: มิติด้านการพัฒนาองค์กร
ประเด็นการประเมินผล: การบริหารการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 13.1 : ระดับความสำเร็จของการจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ ตัวชี้วัดที่ ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินการตามข้อเสนอการ เปลี่ยนแปลงของหน่วยงานราชการ น้ำหนัก: ร้อยละ 4 คำอธิบาย : การพิจารณาจากระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของเป้าหมายหรือรายละเอียดกิจกรรมที่กำหนดในแต่ละแผนงาน ตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่จัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ได้แล้วเสร็จ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ 2548 โดยแต่ละแผนงานจะต้องจัดลำดับความสำคัญ (Ranking) และกำหนดน้ำหนักในแต่ละแผนงาน

32 ขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาระบบราชการ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google