งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

3 ก่อให้เกิด ภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (Climate change)
การเกิดภาวะโลกร้อน 1 2 3 ก่อให้เกิด ภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (Climate change) 4 ที่มา: ONEP, 2006

4 การเกิดภาวะโลกร้อน ก๊าซเรือนกระจก ได้แก่
ก๊าซเรือนกระจก ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์: การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซมีเทน: การหมักหรือเน่าเปื่อยของขยะ น้ำเสีย ปศุสัตว์ ก๊าซไนตรัสออกไซด์: การใช้ปุ๋ยไนโตรเจนในการเกษตร การเผาไหม้ เชื้อเพลิงฟอสซิล ก๊าซโอโซน: เกิดจากการเพิ่มขึ้นของสารบางชนิด เช่น คาร์บอนมอนอกไซด์ สารฮาโลคาร์บอน ได้แก่ CFCs, HFCs และ PFCs: จากกระบวนการผลิตในงานอุตสาหกรรม

5 กิจกรรมของมนุษย์เป็นสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดการเพิ่มขึ้นของปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในวงจรคาร์บอนของโลก ป่าไม้ ทั้งเป็นแหล่งดูดซับและปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กิจกรรมการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ การผลิตและการใช้พลังงาน การอุตสาหกรรม คมนาคมขนส่ง นับเป็นสาเหตุสำคัญของการปล่อยก๊าซ CO2 ไฟป่าและการเผาป่าปล่อยก๊าซ CO2 Source: IPCC (2005), ONEP

6 การปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ประเทศพัฒนาแล้วมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสะสมต่อเนื่องมาจากการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ประเทศกำลังพัฒนามีการปล่อยเพื่อการพัฒนาประเทศ และเพื่อความอยู่รอดของประชากรในประเทศ

7 การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากประเทศต่างๆ
ที่มา: ดร.กัณฑรีย์ บุญประกอบ

8 ที่มา: ดร.กัณฑรีย์ บุญประกอบ

9 ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย ในปี 2546
Emission (1000 tons) 56.1% 24.1% นี่คือแผนภูมิแสดงปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยในปี 2546 ซึ่งเป็นปีล่าสุดที่ได้มีการรวบรวมไว้โดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน แผนภูมินี้แสดงให้เห็นว่าภาคพลังงานเป็นภาคที่มีสัดส่วนในการปลดปล่อยสูงที่สุด คือ 56% ภาคเกษตรกรรมที่รวมการปศุสัตว์ไว้ปลดปล่อยร้อยละ 24.1 7.8% 5.4% 6.6% Sources of emission by sector

10 การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของประเทศไทย
ที่มา: National Clean Development Mechanism Study for the Kingdom of Thailand, 2002

11 การคาดการณ์การปล่อย ก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย

12 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกเกิดจากการใช้พลังงาน ในภาคอุตสาหกรรม
ประเทศเศรษฐกิจกำลังเปลี่ยนแปลง (กลุ่มยุโรปตะวันออก) ประเทศอุตสาหกรรม ประเทศกำลังพัฒนาในภูมิภาคเอเชีย และแปซิฟิค IPCC (2005)

13 ผลกระทบวิกฤติโลกร้อน
การเกษตร ทรัพยากรน้ำ ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรชีวภาพ และระบบนิเวศ สุขภาพของมนุษย์ โครงสร้างพื้นฐาน และการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์

14 ผลกระทบวิกฤติโลกร้อนต่อภาคการเกษตร
ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล เกิดภัยแล้ง น้ำท่วม การรุกของน้ำเค็ม เกิดโรคระบาดของแมลงศัตรูพืชและโรคพืช การแพร่กระจายของวัชพืช การเปลี่ยนแปลงสภาพฝน จะมีผลต่อความชุ่มชื้นในดิน อุณหภูมิที่สูงขึ้น จะมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช ผลผลิตตกต่ำหรือไม่ได้ผลเท่าที่ควร

15 ผลกระทบวิกฤติโลกร้อนต่อทรัพยากรน้ำ
จะมีฝนตกมากขึ้นบางพื้นที่ และลดลงในบางพื้นที่ ส่งผลต่อ ปริมาณน้ำ ระบบนิเวศน้ำจืด และน้ำใต้ดินในระยะยาว ปริมาณน้ำฝนที่เปลี่ยนแปลง จะกระทบต่อการกักเก็บน้ำใน อ่างเก็บน้ำ บ่อน้ำ ปัญหาการขาดแคลนน้ำในหน้าแล้ง นำไปสู่ความขัดแย้งของการจัดสรรน้ำ

16 ผลกระทบวิกฤติโลกร้อนต่อความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ
หากอุณหภูมิเฉลี่ยโลก เพิ่มขึ้นเพียง 1o C อาจมีผลกระทบต่อองค์ประกอบพันธุ์ไม้ในป่า ป่าบางชนิดอาจสูญสลาย ศัตรูพืชคุกคาม และเกิดไฟป่าเพิ่มขึ้น สิ่งมีชีวิตในพื้นที่ระบบนิเวศธรรมชาติ จะเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบ และการกระจายตัว พื้นที่ชุ่มน้ำ อาจลดลงเนื่องจากอัตราการระเหยที่เร็วขึ้น จะส่งผลต่อแหล่งอาศัย และขยายพันธุ์ของพืชและสัตว์

17 ผลกระทบวิกฤติโลกร้อนต่อโครงสร้างพื้นฐานอุตสาหกรรมและการตั้งถิ่นฐาน
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รุนแรง สามารถทำลายโครงสร้างพื้นฐานหรือส่งผลเสียหายต่อการผลิต การเพิ่มของระดับน้ำทะเล พายุ และน้ำท่วม ทำให้ประชาชนต้องอพยพ ส่งผลต่อเนื่องต่อโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่ที่ลึกเข้าไป

18 ความเสียหายทางเศรษฐกิจจากเหตุการณ์สภาพอากาศรุนแรง เช่น น้ำท่วม พายุระหว่างปี 2493 - 2541
Source: IPCC, 2005 2533 2543 Source: IPCC, 2005

19 ผลกระทบวิกฤติโลกร้อนต่อสุขภาพอนามัย
อุณหภูมิที่อุ่นขึ้น ฝนตกมากขึ้น ทำให้เป็นปัจจัยที่เหมาะสมสำหรับยุงหรือแมลงที่เป็นพาหะนำโรคติดต่อ เช่น โรคมาลาเรีย และไข้สมองอักเสบ ระบาดมากขึ้น อากาศที่ร้อนทำให้เกิดมลพิษทางอากาศและทางน้ำสูงขึ้น ทำให้อาหารเน่าเสียง่ายขึ้น ส่งผลให้มีผู้ป่วยด้วยระบบทางเดินอาหารมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศทำให้โอกาสที่จะเกิดคลื่นความร้อนมีสูงขึ้น เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการเสียชีวิตอย่างฉับพลันโดยเฉพาะกับประชากรในประเทศเขตหนาว

20 การใช้พลังงานของบ้านเรือน… สาเหตุหนึ่งที่ทำให้โลกร้อน
การใช้พลังงานของบ้านเรือน… สาเหตุหนึ่งที่ทำให้โลกร้อน กิจกรรมในครัวเรือนและชีวิตประจำวันที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ที่มา: Australian Greenhouse Office (

21 การใช้พลังงานของบ้านเรือน… สาเหตุหนึ่งที่ทำให้โลกร้อน
การใช้พลังงานของบ้านเรือน… สาเหตุหนึ่งที่ทำให้โลกร้อน การเดินทางด้วยวิธีต่างๆ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่าไร ปริมาณการปล่อยก๊าซ GHG (kg./cap/km) ที่มา: Australian Greenhouse Office (


ดาวน์โหลด ppt สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google