งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
รศ.พญ.เสาวรัตน์ เอื้อเพิ่มเกียรติ 30 กรกฏาคม 2553

2 ผลการประเมินงานวิจัย ตามเกณฑ์ สกว. ของภาควิชาพยาธิวิทยา
KPI 1 ความสามารถของอาจารย์ในการผลิตผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เทียบเท่ากับวารสารระดับนานาชาติ โดยวัดจำนวนบทความต่ออาจารย์ 1 ท่าน (บทความแต่ละประเภทจะให้น้ำหนักต่างกัน)

3 ผลการประเมินงานวิจัย ตามเกณฑ์ สกว. ของภาควิชาพยาธิวิทยา
KPI 2 ความสามารถของอาจารย์ในการผลิตผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีคุณภาพในด้านการได้รับการอ้างอิง โดยวัดค่า Impact Factor ต่ออาจารย์ 1 ท่าน

4 ผลการประเมินงานวิจัย ตามเกณฑ์ สกว. ของภาควิชาพยาธิวิทยา
KPI 3 ความสามารถของภาควิชา/สาขาวิชาในการผลิตผลงานวิจัยผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เทียบเท่ากับวารสารระดับนานาชาติ

5 ผลการประเมินงานวิจัย ตามเกณฑ์ สกว. ของภาควิชาพยาธิวิทยา
KPI 4 ความสามารถของภาควิชา/สาขาวิชาในการผลิตผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีคุณภาพในด้านการได้รับการอ้างอิง โดยวัดค่า Impact Factor

6 ผลงานวิจัยที่ได้รับตีพิมพ์ ปี 2552
น้ำหนัก จำนวน วารสารวิชาการระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล ISI 1 10 วารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูล ISI 0.75 4 วารสารระดับชาติ (ตามเกณฑ์ สกอ) 0.50 6 วารสารระดับสถาบัน ที่มี Impact Factor (IF) ไม่ต่ำกว่า 0.01 0.25 วารสารระดับสถาบัน ที่มี IF ต่ำกว่า 0.01 และไม่เท่ากับ 0 0.125 มีทั้งหมด 21 paper เป็นชื่อแรก/correspondence จำนวน 7 paper อาจารย์ 10 คน / 2-3 คน JIF สูง

7 ผลการประเมินงานวิจัย ตามเกณฑ์ สกว. ปี 2552
KPI 1 1. ระบาด 1.534 2. ชีวเวช 0.569 3. สูติศาสตร์ 0.311 4. จักษุ 0.281 5. จิตเวช 0.271 6. กุมาร 0.27 7.เวชศาสตร์ฯ 0.233 8.อายุรศาสตร์ 0.228 9.ENT 0.194 10.พยาธิ 0.166 11.วิสัญญี 0.147 12.ศัลยศาสตร์ 0.104 13.รังสี 0.061 14.ออร์โธ 0.052 KPI 2 1.ระบาด 1.993 2.ชีวเวช 0.575 3.จิตเวช 0.503 4.กุมาร 0.496 5.อายุรศาสตร์ 0.477 6.สูติศาสตร์ 0.294 7.ENT 0.26 8.พยาธิ 0.167 9.ศัลยศาสตร์ 0.157 10.เวชศาสตร์ฯ 0.147 11.จักษุ 0.126 12.รังสี 0.105 13.วิสัญญี 0.081 14.ออร์โธ 0.077 KPI 3 1.ระบาด 12.274 2.อายุรศาสตร์ 11.871 3.กุมาร 7.292 4.สูติศาสตร์ 7.148 5.จักษุ 3.935 6.ศัลยศาสตร์ 3.833 7.พยาธิ 3.649 8.ENT 2.917 9.เวชศาสตร์ฯ 2.333 10.จิตเวช 2.167 11.วิสัญญี 1.917 12.ชีวเวช 1.708 13.รังสี 1.283 14.ออร์โธ 1.092 KPI 4 1.อายุรศาสตร์ 24.825 2.ระบาด 15.943 3.กุมาร 13.388 4.สูติศาสตร์ 6.758 5.ศัลยศาสตร์ 5.822 6.จิตเวช 4.028 7.ENT 3.907 8.พยาธิ 3.671 9.รังสี 2.204 10.จักษุ 1.767 11.ชีวเวช 1.724 12.ออร์โธ 1.608 13.เวชศาสตร์ฯ 1.47 14.วิสัญญี 1.049

8 จุดแข็ง การวิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อน
1. มีอาจารย์ที่มีประสบการณ์ในการทำงานวิจัยมานาน มีศักยภาพและความสามารถในการทำวิจัยที่เป็นโครงการขนาดกลาง เคยได้ทุนจากองค์กรภายนอก เช่น สกว. Biotec 2. มีอาจารย์บางส่วนสนใจทำวิจัยอย่างจริงจังและต่อเนื่อง 3. มีบุคลากรที่มีศักยภาพหลากหลายสาขา บุคลากรจบปริญญาเอก หลายคนทั้งสายอาจารย์ และสายปฏิบัติการที่สามารถพัฒนาศักยภาพในการสร้างงานวิจัยระดับนานาชาติ

9 จุดแข็ง วิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อน
4. มีเครื่องมือและอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการพร้อมในระดับหนึ่ง 5. มีตัวอย่างกลุ่มวิจัยที่เข้มแข็ง 6. มีตัวอย่าง (sample) พร้อม 7. ผู้บริหารให้การสนับสนุน มีการจัดการความรู้ระดับภาควิชาภายใต้โครงการ Patho OTOP เป็นโครงการพัฒนางานที่มีการต่อยอดเป็น R2R ทำให้เกิดการสร้างงานวิจัย

10 วิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อน จุดอ่อน
1. ผลงานวิจัยตีพิมพ์มีน้อย ผลงานวิจัยใน 3 ปีที่ผ่านมา มีจำนวนน้อยลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ระดับนานาชาติ และงานวิจัยที่เป็นชุดโครงการจำกัดอยู่เฉพาะกลุ่มอาจารย์เพียง 2-3 ท่าน 2. อาจารย์รุ่นใหม่ยังขาดประสบการณ์ในงานวิจัย 3. หาอาจารย์ใหม่ยาก เนื่องจากมีคนสนใจเป็นอาจารย์แพทย์พยาธิวิทยาน้อย ขณะที่อาจารย์เก่าเกษียณและนักศึกษาแพทย์เพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก ทำให้อาจารย์มีภาระงานการเรียนการสอน บริการ บริหาร มาก อาจารย์ ปริญญาเอกส่วนหนึ่งทำงานบริหาร ทำให้ไม่ได้สร้างผลงานวิจัย

11 วิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อน จุดอ่อน
4. แพทย์ใช้ทุน แพทย์ประจำบ้านซึ่งเป็นกำลังสำคัญที่ช่วยทั้งงานประจำและช่วยสร้างงานวิจัยร่วมกับอาจารย์แพทย์ มีจำนวนน้อย และบางคนลาออกก่อนใช้ทุนครบกำหนด 5. การเผยแพร่ผลงานวิจัยต่อสาธารณชนนอกเหนือจากการตีพิมพ์มี น้อย 6. Project leader ยังมีน้อย เพราะการคัดเลือกอาจารย์ในสาขาพยาธิวิทยามีข้อจำกัดในเรื่องจำนวนบุคคลที่มารับการคัดเลือก เป็นสาขาขาดแคลน จึงไม่สามารถคัดเลือกอาจารย์สนใจด้านวิจัยได้ตามต้องการ 7. บุคลากรสายปฏิบัติการซึ่งมีทั้งระดับปริญญาโท และปริญญาเอกมีศักยภาพในการทำงานวิจัยมีภาระงานบริการเป็นภาระงานหลัก ปริมาณงานเพิ่มขึ้นทุกปี ทำให้บุคลากรเหนื่อยล้า

12 โอกาส 1. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มีนโยบายเน้นการวิจัย
2. คณะแพทยศาสตร์ ส่งเสริมการวิจัย 3. มีแหล่งทุนจำนวนมากทั้งภายในและภายนอก 4. มีหลักสูตรบัณฑิตศึกษา Ph.D/M.D.ภายในคณะและมหาวิทยาลัย

13 แนวทางพัฒนาการวิจัยของหน่วยงาน
อุปสรรค สถานการณ์ความไม่สงบในภาคใต้ ทำให้ไม่มีบุคลากรที่มีคุณวุฒิและศักยภาพในงานวิจัยมาสมัครเป็นอาจารย์ แนวทางพัฒนาการวิจัยของหน่วยงาน 1. พัฒนาอาจารย์ใหม่ที่ขาดประสบการณ์ในงานวิจัย ให้เข้มแข็งขึ้น 2. ส่งเสริมอาจารย์ที่มีศักยภาพให้สร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพมากขึ้น 3. สร้างบรรยากาศและแรงจูงใจในการทำงานวิจัยภายในภาควิชา 4. ส่งเสริมบุคลากรปฏิบัติการที่มีศักยภาพให้สร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพมากขึ้น

14 วัตถุประสงค์ กลยุทธ์และกิจกรรมที่จะดำเนินการ และเป้าหมายตัวชี้วัด
สร้างผลงานวิจัยของอาจารย์ใหม่ 1. ให้มีระบบอาจารย์พี่เลี้ยงภายในภาควิชา ช่วยเหลืออาจารย์ใหม่ ดังนี้ 1.1 ให้มีการลงทะเบียนงานวิจัยของอาจารย์ใหม่ที่มีชื่ออาจารย์พี่เลี้ยง 1.2 ติดตามให้มีการรายงานผลความ ก้าวหน้าของโครงการทุก 2 เดือน 1.3 สนับสนุนเงินค่าจ้างที่ปรึกษาให้แก่ อาจารย์พี่เลี้ยงครึ่งหนึ่งเมื่อโครงการ ของอาจารย์ใหม่ได้รับทุนและอีก ครึ่งหนึ่งเมื่อผลงานได้รับการตีพิมพ์ 2. ให้อาจารย์ใหม่ทำข้อตกลงภาระงานวิจัย ให้ชัดเจน เสนอ proposal รายงานความ ก้าวหน้าและผลการวิจัยภายในระยะเวลาที่ กำหนดต่อภาควิชา 3. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างงานวิจัย 1. อาจารย์ใหม่แต่ละคนมีโครงการ ได้รับทุนอย่างน้อย 1 โครงการ ภายใน 2 ปี 2. อาจารย์ใหม่มีผลงานที่ได้รับ การตีพิมพ์อย่างน้อยระดับ สถาบันและอย่างน้อย 1 เรื่อง ภายใน 3 ปี 3. มีผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ อย่างน้อยระดับชาติ และอย่างน้อย 1 เรื่อง ภายใน 5 ปี

15 วัตถุประสงค์ กลยุทธ์และกิจกรรมที่จะดำเนินการ และเป้าหมายตัวชี้วัด
เพิ่มผลงานวิจัยระดับนานาชาติของอาจารย์อาวุโส 1. สนับสนุนอาจารย์เป็นที่ปรึกษานักศึกษา ปริญญาโท-เอก 2. ส่งเสริมให้กลุ่มวิจัยขอทุนจัดตั้ง research unit หรือศูนย์วิจัยซึ่ง สนับสนุนโดยมหาวิทยาลัย 3. สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่าง อาจารย์และบุคลากรปฏิบัติการ โดยเน้น การนำข้อมูลจากงานประจำที่มีอยู่มาใช้ ในการทำวิจัย 1. อาจารย์ Ph.D มี นักศึกษา โท-เอก 1 คนภายใน 2 ปี 2. มี research unit อย่างน้อย 1 unit ภายใน 5 ปี 3. มีผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับ นานาชาติ 1 เรื่อง/คน/2 ปี สร้างบรรยากาศและแรงจูงใจในการทำงานวิจัยภายในภาควิชา 1. จัดเวทีเสนอผลงานวิจัย (research meeting) 2. อบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อสร้างงานวิจัย (การเขียน proposal การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียน manuscript) 3. ประเมินผลการปฏิบัติงานตามผลงานวิจัย 4. มีรางวัลพิเศษจากภาควิชาในงานวิจัย ที่ดีเด่น โดยถือตามเกณฑ์ การประเมิน คุณภาพงานวิจัยเชิงวิชาการของ สกว 1. มีการนำเสนองานวิจัยที่กำลัง ดำเนินการในที่ประชุม 1 ครั้ง/ 2 เดือน 2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้าง งานวิจัย 2 ครั้งใน 3 ปี

16 วัตถุประสงค์ กลยุทธ์และกิจกรรมที่จะดำเนินการ และเป้าหมายตัวชี้วัด
เพิ่มผลงานวิจัยของบุคลากรสายปฏิบัติการ 1.สนับสนุนการวิจัย เพื่อปรับปรุงวิธีการตรวจวิเคราะห์/เปิด test ใหม่ที่ทันสมัย การวิจัยเพื่อปรับปรุง ระบบการให้บริการ การวิจัยเพื่อพัฒนา งานคุณภาพสิ่งส่งตรวจ/ การวิจัยเพื่อลด ค่าใช้จ่ายการใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่มี อยู่เพื่อตีพิมพ์ผลงานวิจัย 2.ภาคกำหนด ให้ทุกหน่วยฯ มีกิจกรรม วิชาการ เช่น Journal Club, Research club / 1 ครั้งต่อเดือน 3.อบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อสร้างงานวิจัย และตีพิมพ์ (การตั้งคำถามวิจัย การเขียน proposal การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียน manuscript) 3.1 ใช้ข้อมูลที่มีอยู่ 3.2 R2R 4.สนับสนุนเงินยืมเพื่อการวิจัยจากภาควิชา 5.ให้ค่าตอบแทนแก่ พี่เลี้ยง??? ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับ สถาบัน(ที่มี peer review) 1 เรื่อง/ หน่วยงาน/ 2 ปี

17 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. อาจารย์ใหม่มีผลงานวิจัยและได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับสถาบันและระดับชาติ 2. ผลงานวิจัยของอาจารย์อาวุโสได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติเพิ่มขึ้น 3. ผลการประเมินคุณภาพงานวิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษาในรอบต่อไปดีขึ้น 4. อาจารย์ร่วมกับบุคลากรสายปฏิบัติการมีผลงานวิจัยและได้รับการตีพิมพ์ในวารสารอย่างน้อยระดับสถาบันเพิ่มขึ้น

18 งบประมาณ 1. จัดประชุม research meeting ทุก 2 เดือน 6 ครั้ง/ปี รวม 3 ปี 40,000 บาท/3 ปี 2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างงานวิจัย 2 ครั้งใน 3 ปี ครั้งละ 10,000 บาท 20,000 3. เงินตอบแทนให้แก่อาจารย์พี่เลี้ยงสำหรับอาจารย์ใหม่ 4 คนๆละ 5,000 บาท บาท รวมทั้งสิ้น 80,000 ระยะเวลาการดำเนินงาน ตั้งแต่ปีงบประมาณ (ตค.53-กย.56)

19 แผนการดำเนินงาน

20 จบการนำเสนอ

21 ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 กุมาร 0.237 0.279 0.268 0.363 0.270 สูติศาสตร์ 0.376 0.427 0.402 0.366 0.311 ระบาด 1.07 1.39 1.151 1.927 1.534 ศัลยศาสตร์ 0.296 0.356 0.107 0.104 อายุรศาสตร์ 0.124 0.183 0.132 0.241 0.228 จิตเวช 0.021 0.094 0.219 0.174 0.271 พยาธิ 0.206 0.309 0.128 0.316 0.166 ออร์โธ 0.242 0.186 0.049 0.052 เวชศาสตร์ชุมชน 0.11 0.223 0.417 0.108 0.233 จักษุ 0.333 0.196 0.129 0.116 0.281 ชีวเวช 0.1 0.245 0.569 วิสัญญี 0.167 0.192 0.251 0.352 0.147 ENT 0.065 0.068 0.194 รังสี 0.382 0.119 0.053 0.061

22 ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 กุมาร 0.315 0.297 0.357 0.582 0.496 สูติศาสตร์ 0.342 0.586 0.514 0.175 0.294 ระบาด 1.47 1.8 1.705 2.597 1.993 ศัลยศาสตร์ 0.279 0.35 0.257 0.127 0.157 อายุรศาสตร์ 0.286 0.284 0.139 0.340 0.477 จิตเวช 0.006 0.03 0.527 0.150 0.503 พยาธิ 0.185 0.204 0.205 0.190 0.167 ออร์โธ 0.133 0.125 0.097 0.079 0.077 เวชศาสตร์ชุมชน 0.103 0.160 0.036 0.147 จักษุ 0.407 0.063 0.123 0.034 0.126 ชีวเวช 0.274 0.372 0.202 0.575 วิสัญญี 0.046 0.052 0.442 0.193 0.081 ENT 0.074 0.275 0.076 0.089 0.260 รังสี 0.606 0.155 0.138 0.024 0.105

23 ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 กุมาร 6.406 7.533 7.226 9.801 7.292 สูติศาสตร์ 7.525 8.971 8.038 8.061 7.148 ระบาด 7.46 9.73 8.055 15.415 12.274 ศัลยศาสตร์ 9.467 10.319 6.879 3.756 3.833 อายุรศาสตร์ 5.326 8.034 5.932 11.345 11.871 จิตเวช 0.167 0.75 1.750 1.391 2.167 พยาธิ 4.935 7.407 3.082 6.951 3.649 ออร์โธ 3.142 2.413 2.250 1.025 1.092 เวชศาสตร์ชุมชน 0.771 1.558 3.750 0.971 2.333 จักษุ 3.333 1.963 1.812 1.625 3.935 ชีวเวช 0.3 0.736 0.313 1.708 วิสัญญี 2.342 2.501 2.761 3.871 1.917 ENT 0.783 3.367 0.950 1.500 2.917 รังสี 4.579 1.611 2.021 0.952 1.283

24 ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 กุมาร 8.503 8.01 9.630 15.709 13.388 สูติศาสตร์ 6.831 12.315 10.272 3.845 6.758 ระบาด 10.27 12.6 11.932 20.779 15.943 ศัลยศาสตร์ 8.935 10.158 7.461 4.442 5.822 อายุรศาสตร์ 12.289 12.508 6.263 15.962 24.825 จิตเวช 0.049 0.239 4.213 1.199 4.028 พยาธิ 4.439 4.900 4.910 4.190 3.671 ออร์โธ 1.726 1.629 2.043 1.661 1.608 เวชศาสตร์ชุมชน 0.719 2.391 1.438 0.321 1.470 จักษุ 4.067 0.626 1.722 0.474 1.767 ชีวเวช 0.821 1.117 0.606 1.724 วิสัญญี 0.64 0.671 4.862 2.123 1.049 ENT 0.884 3.303 1.070 1.241 3.907 รังสี 7.275 2.018 2.346 0.423 2.204

25 KPI 4 ความสามารถของภาควิชา/สาขาวิชาในการผลิตผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีคุณภาพในด้านการได้รับการอ้างอิง โดยวัดค่า Impact Factor

26

27 1.สนับสนุนค่าถ่ายเอกสาร
2.สนับสนุนเงินค่าจ้างที่ปรึกษาให้แก่อาจารย์ใหม่และอาจารย์ที่เริ่มทำวิจัยครั้งแรก 3.มีเงินยืมเพื่อการวิจัย ตามเงื่อนไขดังนี้ - ผู้ที่ได้รับคือบุคลากรทุกคนที่มี proposal และได้รับอนุมัติทุนจากคณะฯหรือแหล่งทุนภายนอก - จำนวนเงินที่ให้ยืมคือ 30% ของเงินงวดแรก แต่ไม่เกิน 30,000 บาท - จำนวนคนที่ได้รับทุน คือ ครั้งละ 3 คนๆ ละไม่เกิน 30,000 บาท โดยจัดลำดับจากวันที่ยื่นขอรับทุน ถ้าเกิน 3 คน คนถัดไปจะขึ้นทะเบียนไว้ก่อน - ให้เซ็นสัญญากู้ยืมเงินกับภาควิชาฯ - ระยะเวลาในการคืนเงิน คือ 1 เดือนหลังจากได้รับเงินทุนจากคณะฯ - สามารถยื่นขอในระหว่างที่โครงการกำลังดำเนินการ และขอต่อทุนอยู่ได้ - กรรมการวิจัยภาควิชาฯเป็นกรรมการ

28 สำหรับบุคลากร ต้องมีโครงการเสนอขอรับทุนและลงทะเบียนกับคณะฯ ภาควิชาฯจะสนับสนุนดังนี้ 1. ค่าถ่ายเอกสารส่วนที่เกินจากที่ขอไว้ในโครงการที่ขอทุน 2. เงินยืมเพื่อการวิจัย (เหมือนของอาจารย์) 4. มีระบบและกลไกพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านการวิจัย โดย สนับสนุนอาจารย์ บุคลากรให้ศึกษาหลักสูตรระบาดวิทยา และอื่นๆ 5. มีระบบสร้างขวัญและกำลังใจและยกย่องนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยและงาน สร้างสรรค์ดีเด่น โดยสนับสนุนเงินรางวัลเพิ่มเติมสำหรับบุคลากรสาย ข และ ค ที่ได้รับรางวัลจากการนำเสนอผลงานภายนอกภาควิชาฯ และจัดกิจกรรม Research meeting


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google