งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

มองอนาคตอุดมศึกษาไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "มองอนาคตอุดมศึกษาไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มองอนาคตอุดมศึกษาไทย
วิจารณ์ พานิช เสนอในการสัมมนาวิชาการการบริหารจัดการอุดมศึกษา เรื่อง “มองอนาคตอุดมศึกษา : OECD’s Higher Education to 2030 และอุดมศึกษาไทย 2025” 14 มีนาคม 2555

2 แข่งขันกันด้วยคุณค่าต่อสังคม
คำทำนาย อุดมศึกษาไทย 2025 สถาบันที่มีพฤติกรรมต่อไปนี้ ...สูญพันธุ์ มุ่งทำมาหากินกับสังคมฐานานุภาพ ใช้หลัก “จ่ายครบ จบแน่” ดำรงอยู่เพื่อผลประโยชน์ของคนในมหาวิทยาลัยเป็นหลัก ไม่คำนึงถึงประโยชน์และโทษต่อสังคมเท่าที่ควร มุ่งไต่บันได คาร์เนกี มีพฤติกรรม ไร้จริยธรรม ยึดมั่นอยู่กับการศึกษาแห่งศตวรรษที่ ๒๐ learning.thaissf.org/document/media/media_396.pdf แข่งขันกันด้วยคุณค่าต่อสังคม

3 ปัจจัยหลัก ๗ ประการของอนาคตอุดมศึกษาไทย
Change การเป็น Learning Systems/Learning Organization – Dynamism/Creative Functions ในท่ามกลางโลกที่เปลี่ยนแปลงเร็ว พลิกผัน Diversity Relevance Engagement / Connectedness Quality Equity Governance & USR

4 สู่ LS/LO & Change ระบบข้อมูล/ประเมิน เพื่อการปรับปรุงตัวเอง ระดับองค์กร และระดับระบบ อศ. เพื่อเข้าใจภาพ macro และภาพเคลื่อนไหว ของตนเอง & ของสังคม/โลก จะมี “ขมท.” (ข้อมูลมหาวิทยาลัยไทย) เพื่อ “ลูกค้า” หรือ “ผู้ร่วมมือ” ที่แม่นยำ เปรียบเทียบ และทันเวลา ได้อย่างไร ม. จะปรับตัว สู่ภารกิจที่ทำได้ดี เป็นเลิศ มีนวัตกรรมในการปฏิบัติภารกิจ ได้อย่างไร

5 Diversity ม. จะปรับตัวสู่ “เอกลักษณ์” จำเพาะ ที่ตนเด่นได้อย่างไร
ม. จะปรับตัวสู่ “เอกลักษณ์” จำเพาะ ที่ตนเด่นได้อย่างไร ม. วิจัยระดับโลก เน้นสากล ม. เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น/พื้นที่ เน้น ป. ตรี (และโท) เน้นวิชาการที่พื้นที่ต้องการ ม. วิจัยระดับชาติ (ป. ตรี โท เอก) วชช. ม. ออนไลน์ (เพื่อฝึกทักษะการทำงาน) จะเกิดไหม ม. เทศ ในแดนไทย

6 Relevance ภักดีต่อแผ่นดิน / พื้นที่ / สังคม เชื่อมโยงสากล ไม่ใช่ภักดีต่อวิชา เป็นอย่างไร บัณฑิต ที่สอดคล้องกับการทำงาน และเป็นพลเมือง อย่างพุ่งเป้า วิจัย โจทย์ที่มีความหมายต่อประเทศ พื้นที่ พัฒนา / บริการวิชาการ เพื่อชี้นำ และสนองประเทศ/พื้นที่ Relevance ต่ออนาคต ทำอย่างไร

7 Engagement / Connectedness
ไม่เป็นหอคอย มี community engagement ไม่เป็นไซโล เชื่อมโยงระหว่างศาสตร์ เชื่อม Explicit Knowledge (ทฤษฎี) เข้ากับ Tacit Knowledge (ปัญญาปฏิบัติ - Phronesis) เชื่อมสถานศึกษา กับสถานทำงาน เชื่อมสากล กับท้องถิ่น เชื่อมเรียน - วิจัย - บริการ - จรรโลงสังคม เชื่อมการเรียนใน - นอก หลักสูตร (กิจกรรม) ใช้ นศ./บัณฑิต (อจ.) เป็นตัวเชื่อม

8 Quality “คุณภาพตามความพึงพอใจของลูกค้าหรือผู้ใช้บริการ” มี customer segment CQI / PDCA / มาตรฐานที่เคลื่อนไหว หลายมาตรฐาน ลดมายา External Quality Assessment -> Public Communication / Comparison เปิดเผยข้อมูลเพื่อ EQA การอุดหนุนตามผลการประเมินคุณภาพ / แก่ demand-side หมดยุค “จ่ายครบ จบแน่” ได้ไหม

9 Equity เวลานี้การศึกษาเป็นตัวสาเหตุของความเหลื่อมล้ำ - inequity เพราะคุณภาพแตกต่างกันมาก อศ. ก็เป็นส่วนหนึ่ง อศ. จะมีส่วนแก้ปัญหานี้อย่างไร ในมิติของ สังคม กศ. พื้นฐาน และ อศ. เอง มีตัวอย่างประเทศที่ equity ด้านการศึกษาสูงมาก เช่นฟินแลนด์ และอีกหลายประเทศในกลุ่ม OECD

10 Governance & USR ม. เป็นของบ้านเมือง ไม่ใช่ของ อจ. นศ. กลไกกำกับ (สภามหาวิทยาลัย) เข้มแข็งขึ้น การเปิดเผยข้อมูล สารสนเทศ - กำกับโดยสังคม ระบบอุดหนุนการเงินจากรัฐ จากศิษย์เก่า และผู้เห็นคุณค่า - กำกับโดยกลไกการเงิน ที่เป็นธรรม ไม่วิ่งเต้น มีการวิเคราะห์ value for money แยกแยะตามกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา กลไกคุ้มครองผู้บริโภค? กำกับ ม. เทศในแดนไทย อย่างไร


ดาวน์โหลด ppt มองอนาคตอุดมศึกษาไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google