งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่ม 3 (Group 3) การปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจในระดับมหภาคเพื่อ ความสมดุลระหว่างการพึ่งพาตลาดจากต่างประเทศ และตลาดภายในประเทศ Macroeconomic Restructuring.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่ม 3 (Group 3) การปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจในระดับมหภาคเพื่อ ความสมดุลระหว่างการพึ่งพาตลาดจากต่างประเทศ และตลาดภายในประเทศ Macroeconomic Restructuring."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลุ่ม 3 (Group 3) การปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจในระดับมหภาคเพื่อ ความสมดุลระหว่างการพึ่งพาตลาดจากต่างประเทศ และตลาดภายในประเทศ Macroeconomic Restructuring for Appropriate Balance between External and Internal Markets

2 เอกสารประกอบการประชุม (Reports)
มีรายงานสองชิ้น (two reports) 1, “โลกาภิวัตน์กับเศรษฐกิจไทย: ผลกระทบและแนวทางการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อความยั่งยืน” โดย ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ สมชัย จิตสุชน และ ยศ วัชระคุปต์ (“Globalization of Thailand: Economic Impacts and Restructuring for Sustainability” by Chalongphob Sussangkarn, Somchai Jitsuchon and Yos Vajragupta) “ขีดความสามารถในการผลิตทดแทนการนำเข้า” โดย ปรเมธี วิมลศิริ, สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (“A Note on Thailand’s Import Substitution Potentials” by Porametee Vimolsiri, National Economic and Social Development Board) รายงานทั้งสองเสริมกันโดยมีกรอบเนื้อหาดังนี้ (These reports complement each other, with the following outline)

3 ผลทางเศรษฐกิจของโลกาภิวัตน์: ทฤษฎีและหลักฐานระหว่างประเทศ (theory and international evidences on impacts of globalization) การเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ผ่านกระบวนการโลกาภิวัตน์ก่อให้เกิดผลกระทบที่กว้างไกล (by linking countries through trade and capital movements, globalization stands to have far-reach impacts) ทฤษฎีและหลักฐานระหว่างประเทศมุ่งความสนใจไปที่ผลกระทบต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การลดความยากจน การกระจายรายได้ และความเสี่ยงที่เกี่ยวเนื่องกับกระแสโลกาภิวัตน์ (theories and international evidences emphasize on the impacts of globalization on growth, poverty, income distribution, and risks) บทความส่วนใหญ่จะให้ภาพรวมอย่างย่อของผลกระทบดังกล่าวข้างต้นในระดับระหว่างประเทศ (the paper gives brief review of the aforementioned impacts)

4 โลกาภิวัตน์กับระบบเศรษฐกิจไทย (Globalization of Thailand)
ในส่วนนี้กล่าวถึงกระแสโลกาภิวัตน์ในไทยในระยะหลัง (short account of Thailand’s recent experience with globalization is presented) ได้พัฒนาแบบจำลองทางเศรษฐมิติสองแบบเพื่อทดสอบผลกระทบของโลกาภิวัตน์ต่อเศรษฐกิจไทย (two econometric models were developed to test the stylized impacts of globalization) เน้นความสนใจไปที่ผลต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ความยากจนในเขตเมือง/ชนบท การกระจายรายได้ และความผันผวนของเศรษฐกิจระดับสาขาการผลิต (with emphasis on impacts on growth, rural/urban poverty, inequality, and volatility of production sectors)

5 ขีดความสามารถในการผลิตทดแทนการนำเข้า (Potential to Substitute for Imports)
ความสามารถเพิ่มศักยภาพการผลิตเพื่อทดแทนการนำเข้ามีส่วนสำคัญสำหรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ (The ability to reduce import reliance is important for future growth with stability) สภาพัฒน์ฯ ได้ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นอย่างไม่เป็นทางการจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เกี่ยวกับโอกาสในการผลิตเพื่อทดแทนสินค้านำเข้าในช่วง 3-5 ปีข้างหน้า (Informal survey by NESDB about potential to reduce import contents over the next 3-5 years.) ผลจากการสำรวจจะให้ภาพที่ชัดขึ้นเกี่ยวกับศักยภาพในการทดแทนการนำเข้าของกลุ่มสินค้าต่างๆ (Reports gives a clearer picture on potential to substitute for imports for various product groups) นำผลมาใช้ในการวิเคราะห์ในส่วนต่อไป (These results were used in the following analyses.)

6 ความเป็นไปได้และเงื่อนไขในการที่จะพึ่งพาภาคต่างประเทศน้อยลง (Necessary Conditions for Relying Less on Exports) เนื่องจากสัดส่วนการส่งออกต่อ GDP เพิ่มขึ้นมากหลังวิกฤติ และภาวะการแข่งขันที่รุนแรง เราคงคาดหวังว่าการส่งออกจะขยายตัวในระดับที่สูงอย่างต่อเนื่องได้ยาก (Big jump in Export/GDP ratio after crisis. Also, with intense competition, it may not be possible to rely on sustained high export growth.) วิเคราะห์โดยตั้งเป้าให้สัดส่วนการส่งออกต่อ GDP ลดลง จากประมาณร้อยละ 66 ในปัจจุบันเป็นร้อยละ 55 ในห้าปีข้างหน้า และถามว่าเรายังจะสามารถขยายตัวในระดับที่น่าพอใจ (6%) อย่างมีเสถียรภาพได้หรือไม่ (Set target to reduce export/GDP ratio to 55% in five years from about 66% currently. Question is whether 6% growth can still be achieved with stability.)

7 เงื่อนไขต่างๆ (Various Condition)
มีการวิเคราะห์เงื่อนไขสี่ด้าน (4 conditions were analyzed) การขยายตัวของการส่งออกตามเป้า (Targeted growth of exports) การลดสัดส่วนของสินค้านำเข้า (Reducing import share) การเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต (Total Factor Productivity growth) การประหยัดพลังงาน (Energy Saving) การวิเคราะห์ใช้แบบจำลองเศรษฐกิจมหภาคแบบดุลภาพทั่งไป (Analyze by using a computable general equilibrium model, CGE)

8 ผลรวม (Overall Findings)
พบว่า มีศักยภาพที่จะขยายตัวได้ร้อยละ 6 แต่ต้องทำงานหนักเพื่อให้บรรลุเงื่อนไขต่างๆ (Has the potential to achieve 6% growth, but needs to work hard to meet many conditions.) มีผลพลอยได้โอกาสที่การกระจายรายได้จะดีขึ้นด้วย (Beneficial side- effect on income distribution as well.)

9 ผลรวม (ต่อ) (Overall Findings, Continued)
สิ่งที่ต้องเน้นคือ วิธีการในการบรรลุเงื่อนไขต่างๆ ก็สำคัญ เช่นการทดแทนการนำเข้าต้องเน้นการเพิ่มความสามารถในการผลิตสินค้าทดแทนที่มีคุณภาพ ไม่ใช่การให้ระบบเศรษฐกิจต้องใช้สินค้าที่มีคุณภาพต่ำลง หรือต้นทุนสูงขึ้น มิฉะนั้นอาจจะเกิดผลเสียมาก (Need to stress that the ways to achieve various conditions are also very important. For example, in reducing import shares, need to develop ability to produce domestic substitutes of good quality. If import reduction leads to the economy having to use low quality and high price substitutes, there will be many adverse consequences.)


ดาวน์โหลด ppt กลุ่ม 3 (Group 3) การปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจในระดับมหภาคเพื่อ ความสมดุลระหว่างการพึ่งพาตลาดจากต่างประเทศ และตลาดภายในประเทศ Macroeconomic Restructuring.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google