งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

INT1005 เทคโนโลยีสารสนเทศกับการวางแผนกลยุทธ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "INT1005 เทคโนโลยีสารสนเทศกับการวางแผนกลยุทธ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 INT1005 เทคโนโลยีสารสนเทศกับการวางแผนกลยุทธ์
Information Technology & Strategic Planning Management

2 ประเด็นสำคัญที่ศึกษา
เรื่องเกี่ยวกับนโยบายและการวางแผนงานสำหรับการจัดการ สารสนเทศสำหรับองค์กร โดยเน้นการทำงานภายใน และการ ทำงานร่วมกันระหว่างกัน ยุทธศาสตร์การวางแผนจากการที่อุปกรณ์ ICT ถูกลง และ อินเทอร์เน็ตก้าวหน้า การวางแผนสร้างอำนาจการแข่งขันด้วย e-Model เรื่องเกี่ยวกับ e-model ที่มีความสัมพันธ์กับ information technology การวางแผนทำงานร่วมกัน Collaboration Business IT solution ที่นำมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดให้สอดคล้องกับ กลยุทธ์ Value Chain Model

3 ประเด็นสำคัญที่ศึกษา(ต่อ)
มองแนวโน้มของ New economy โลกใหม่ของการดำเนินการใน e-Business แรงกดดันที่สำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงองค์กรและการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารในองค์กร การวางแผนโดยใช้ IT/IS SCM CRM และ e-Business ความสำคัญของธุรกิจในยุค e-Age

4 ยุทธศาสตร์ที่สำคัญขององค์กร
การเข้าใจสิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว การทำงานร่วมกัน และ ยุทธศาสตร์การใช้สารสนเทศในการรวมกันเพื่อการแข่งขัน Business Value Chain Model E-Business ขององค์กรบน พื้นฐาน C-Business New IT solution และ กลยุทธ์การใช้ไอซีทีภายใต้ข้อจำกัดขององค์กร

5 ไอซีที เทคโนโลยีที่มีพัฒนาการเร็วทำให้ การลงทุนได้ง่ายสำหรับ องค์กร
เทคโนโลยีการประมวลผล เทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูล เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล เทคโนโลยีการแสดงผลและการพิมพ์

6 พัฒนาการของไอที และ อินเทอร์เน็ต และแนวโน้มในยุค 2000
พัฒนาการเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์(ไมโครโปรเซสเซอร์) ฮาร์ดแวร์พัฒนาให้มีขนาดเล็กลง เร็วขึ้น แนวโน้มประสิทธิภาพสูงขึ้น ราคาลดลง ผลิตมากขึ้น ใช้พลังงานไฟฟ้าน้อยลง

7 แนวโน้มเข้าสู่ระบบ เศรษฐกิจใหม่
Digital Economy (New Economy) ระบบเศรษฐกิจที่พึ่งพาข้อมูลข่าวสาร เอกสารและ สิ่ง พิมพ์ แบบดิจิตอล(electronics document) ทุกอณูของสิ่งที่เป็นข่าวสารกำลังแปรเปลี่ยนเป็นดิจิตอล เศรษฐกิจดิจิตอลจึงเกี่ยวโยงกับ ยุคของ e

8 แนวโน้มเข้าสู่ระบบ เศรษฐกิจใหม่(ต่อ)
e-Business - การทำธุรกรรม การแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (EDI) e-Commerce - การค้าขายผ่านเครือข่าย(virture shopping) e-Thailand - e-Wisdom e-Planing e-Meeting etc. e-Cash - การใช้เงินตราอิเล็กทรอนิกส์ e-Money, e-Banking, e-Book, e-Library, e-Classroom, e-Learning, e-Magazine, e-Journal, etc.

9 แรงกดดันที่ทำให้องค์กรต้องประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
แรงกดดันทางการตลาด (Market pressures) แรงกดดันทางเทคโนโลยี (Technological pressures) แรงกดดันทางสังคม (Societal pressures)

10 The Drivers of change Business Pressures on an Organization that force change. Technology Market Society

11 แรงกดดันทางการตลาด เศรษฐกิจในปัจจุบันเป็นเรื่องระดับโลก (Globalization) อินเตอร์เน็ตซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอีคอมเมิร์ชเป็นปัจจัยอันหนึ่งที่ทำให้การแข่งขันเข้มข้นและรุนแรงมากยิ่งขึ้น ลูกค้าที่ชาญฉลาด รู้จักเลือกหาสินค้าที่เหมาะสม

12 แรงกดดันทางเทคโนโลยี
นวัตกรรมทางเทคโนโลยีต่างๆ รวมถึงทางด้านไอทีด้วยทำให้เทคโนโลยีปัจจุบันเกิดความล้าหลัง เพื่อให้แข่งขันกับคู่ต่อสู้ได้ องค์กรจึงอาจจำเป็นต้องรับเอานวัตกรรมทางเทคโนโลยีหนึ่งมาใช้งานเพื่อให้สามารถแข่งขันได้กับผู้อื่น ปริมาณข้อมูลอันมากมายมหาศาล ต้องมี Information Management ที่ดี

13 แรงกดดันทางสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรกับสังคม อาทิ การเพิ่มหรือตัดงบประมาณของรัฐบาลจะมีผลต่อองค์กรในภาครัฐ จริยธรรมทางสังคม

14 ไอทีสนับสนุนงานที่สำคัญ
เนื่องจากแรงกดดันจึงต้องมีแรงต้าน IT ช่วยสร้างฐานการต่อต้านการกดดันได้ดี เพิ่มขีดความสามารถในเรื่องการแข่งขัน Business Drivers แรงกดดัน การตอบสนอง โต้ตอบ สนับสนุน IT

15 รูปแบบการทำงานใน e-Society จะเปลี่ยนแปลงไป
ลดคนกลาง หรือตัวกลาง ลดขั้นตอนลง ลดระยะเวลา การดำเนินการตรง และการดำเนินการแบบร่วมมือกัน แลกเปลี่ยนข่าวสารโดยตรง ระบบ online เข้ามามีบทบาทมากขึ้น Integration System งานส่วนใหญ่ใช้พื้นฐานทางด้านไอที ดังนั้นจึงต้องมีความรู้ และใช้งานได้

16 วางแผนยุทธศาสตร์สำหรับธุรกิจยุคใหม่
มีความต้องการใช้วิธีการทาง business models และการสร้างกลยุทธ์แนวใหม่ ให้ความสำคัญในเรื่อง web-based IT มีการแข่งขันในระดับ Global competition บนพื้นฐานการให้บริการ มีการพัฒนาต้องมีขึ้นตลอดเวลา

17 วางแผนยุทธศาสตร์สำหรับธุรกิจยุคใหม่(ต่อ)
ต้องให้ความสำคัญของอินเทอร์เน็ต สำหรับการประยุกต์ระบบโลกาภิวัตน์ Web-based applications สำหรับการให้บริการลูกค้า Ubiquatous ต้องการสร้างนวัตกรรมทางธุรกิจใหม่ๆ

18 แนวโน้มเศรษฐกิจสิ่งแวดล้อมโลก และแรงกดดัน
ความท้าทายของโลกยุคโลกาภิวัตน์ การก้าวสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและความรอบรู้ สามองค์ประกอบหลัก การสร้างทรัพยากรมนุษย์ (การสร้างบุคคลที่มีคุณภาพ) การส่งเสริมให้มีนวัตกรรม (การวิจัยและการค้นคว้าหาความรู้ใหม่ เพื่อภูมิปัญญา) การลงทุนและส่งเสริมให้มีโครงสร้างพื้นฐาน และอุตสาหกรรม (สร้างความยั่งยืน)

19 ต้องรู้แนวโน้มเศรษฐกิจโลก
การเจริญเติบโตของเทคโนโลยี ICTที่มีความก้าวหน้ารวดเร็วมาก แรงขับดันจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและ www สังคมดิจิตอล และ digital divide ทำให้เกิดความกังวลในเรื่องความแตกต่าง ทางด้านการใช้ข่าวสาร ความสามารถของการแข่งขันต่างกันมาก สำหรับผู้มีเทคโนโลยีในมือ

20 ต้องรู้แนวโน้มเศรษฐกิจโลก (ต่อ)
การทำงานร่วมกัน เพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน (รูปแบบการทำงานในทุกองค์กร c-Business (Collaboration Business Model, Value Chain Model) เกิดสภาพการทำงานที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม โดยใช้ไอซีที่เป็นเครื่องมือหลัก การเติบโตของ Web Technology, EDI และการใช้ประโยชน์จาก Web Service ให้การทำงานแบบ Virtual มีโมเดลใหม่ของกระบวนการทางธุรกิจ

21 การสร้างบุคลากรในองค์กรยุคไอซีที
คิดเป็น ทำเป็น กล้าคิด กล้าทำ เป็นคนสมัยใหม่ เรียนรู้ได้เอง นักสำรวจ แสวงหา เรียนรู้ เทคโนโลยีได้เร็ว มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ คิดเป็นระบบมีเหตุผล ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ทำงานเป็นทีม ทำงานในยุคอิเล็กทรอนิกส์ได้ดี เป็นตัวของตัวเอง รู้ผิด รู้ชอบ รับผิดชอบมีคุณธรรม จริยธรรม มีความรู้ความสามารถในสาขาวิชาชีพของตนเองอย่างดี

22 การเปลี่ยนกรอบความคิดใหม่
Reengineering Redesign ลักษณะที่อยากเปลี่ยนแปลง ไปในทางที่ดี การคิดใหม่ ทำใหม่ กล้าคิด กล้าทำ

23 กระบวนทัศน์ใหม่คิดใหม่ทำใหม่
“กระบวนทัศน์ใหม่ คิดใหม่ ทำใหม่ คือการรีดีไซน์ (design) ใหม่ ขั้นมโหฬารเกี่ยวกับการคิดใหม่ หาวิธีใหม่สำหรับกระบวนการทำงาน (Business process) และกระบวนการคิดเพื่อให้ได้ผลงานที่ดีขึ้น ตรงกับความต้องการมากขึ้น ปรับปรุงดัชนีที่ใช้วัดผลงาน (performance) ที่สำคัญในโลกปัจจุบัน ซึ่งได้แก่ต้นทุน (cost) คุณภาพ (quality) บริการ (service) และความเร็ว (speed) โดยที่การปฏิรูปกระบวนการ ด้วยการคิดใหม่ ทำใหม่นี้ จะก่อให้เกิดผลพวงติดตามมาคือ การปฏิรูปความคิด การปฏิรูปการดำเนินการ การปฏิรูปจิตสำนึกของเรา ในที่สุด”

24 End to end e-Service เพื่อการเข้าถึง องค์กร
การบริการลูกค้าจะถึงตัวมากขึ้น และเรียกใช้บริการได้ทุกที่ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต องค์กร ผู้ใช้บริการ ผู้ใช้บริการเข้าถึงปลายทางได้ โดยไม่ต้องการตัวแทน ดังนั้นร้านค้าที่อยู่บริเวณกลางทางจะหายไป

25 การวางแผนความร่วมมือ (Collaboration)
ไม่ใช่ความคิดใหม่ !!! รวมกันเราอยู่ แยกหมู่เราตาย การทำงานร่วมกัน สร้างพันธมิตร สร้างความเข้มแข็ง เป็นรากฐานของธุรกิจมาแต่โบราณ

26 การวางแผนสร้างสหกิจภายใน และ ระหว่างองค์กร
การทำงานร่วมระหว่าง Enterprise, manufactures, vendors, suppliers, services, etc… เพื่อสร้างเครือข่ายธุรกิจ และสร้างธุรกิจแบบ b-b, b-c, c-c

27 โครงสร้างพื้นฐานทางธุรกิจที่ กำลังก้าวเข้าสู่ ระบบเศรษฐกิจใหม่
ระบบเศรษฐกิจเก่า Knowledge in Specific Function Productivity Across Many Functions คน ระบบเศรษฐกิจใหม่ (เน้นลูกค้า) ระบบเศรษฐกิจเก่า (ประสิทธิภาพ ความเร็ว ) ผลิตภัณฑ์ กระบวนการ ระบบเศรษฐกิจใหม่ (ความคล่องตัว ตื่นตัว ว่องไว) ระบบเศรษฐกิจเก่า (เน้นสินค้าหรือบริการ)

28 วางแผนสู่เศรษฐกิจใหม่
มูลค่าตลาดของกิจการ ชื่อยี่ห้อ ชื่อเสียง ทรัพย์สินทางปัญญา สินค้า ผลิตภัณฑ์ ลูกค้า และคู่แข่งขัน ขุมความรู้ ความรู้ของพนักงานและบุคลากร ทรัพย์สินที่จับต้องไม่ได้ + ทรัพย์สินที่จับต้องได้ + ทรัพย์สินในรูปตัวเงิน คุณค่า = การนำความรู้มาประยุกต์ ให้เกิดมูลค่า

29 อินเทอร์เน็ตทำให้เกิด ระบบเศรษฐกิจใหม่ และ c-Commerce
คน ขีดความสามารถ เชิงความรอบรู้ การเข้าถึงเนื้อหา สาระความรู้ เน้นเข้าหาลูกค้า ผลิตภัณฑ์ กระบวนการ ความว่องไว รวดเร็ว ไดนามิกส์ และสร้างกิจกรรม ร่วมกันระหว่างองค์กร

30 อนาคตการเชื่อมโยงธุรกิจระดับมหภาค
ตลาดแบบไซเบอร์ ซีคอมเมิร์ช 2002–2005 การค้าขาย ที่มีคู่ค้าแบบเดิม อีคอมเมิร์ช 1995–2002 องค์กร บริษัท การประยุกต์เฉพาะโดเมน 1995 การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตและคน อีคอมเมิร์ช การจัดการรายการย่อย การทำงานร่วมกัน การมีปฏิสัมพันธ์

31 c-Commerce กำหนดให้เกิดเศรษฐกิจใหม่
โครงสร้างพื้นฐาน ทางธุรกิจ เศรษฐกิจใหม่ การเกิดโดยแรง E-Commerce? การเกิดโดยแรง C-Commerce ? ปัญญา ความรู้ เป็นสินทรัพย์ คน ไม่ ใช่ กระบวนการ ความคล่องตัว ไมแน่ใจ ใช่ ประสบการณ์ ลูกค้า ผลิตภัณฑ์ ไม่แน่ใจ ใช่

32 c-Commerce กับคน การเก็บเกี่ยวความรอบรู้สำหรับองค์กร
ลูกค้า คน เครือข่าย พันธมิตร กระบวนการ ซัพพลายเออร์ ข้อมูลข่าวสาร การประยุกต์เฉพาะ เว็บ และ อินเทอร์เน็ต สินค้า บริการ ผลิตภัณฑ์ การจัดการ ความรอบรู้ ระบบ คน

33 ทำไมต้อง c-Commerce แรงผลักดันจากเทคโนโลยีใหม่+อินเทอร์เน็ต
กระบวนการทำงานร่วมกันของหลายหน่วยงานหลายองค์กรที่ทำร่วมกัน ใช้แนวคิดของการจัดการสายใย (chain) การไหลของงาน (work flow) บนพื้นฐานของข้อมูลข่าวสารที่มีมากขึ้น

34 กล่าวได้ง่าย... c-Commerce
ข้อมูลข่าวสารสนเทศ, กระบวนการ/กำไร และทรัพย์สินที่นำมาใช้งานร่วมกันระหว่างพันธมิตรในองค์กรและระหว่างองค์กร ในระดับซัพพลายเชน และดีมานต์เชน เพื่อให้ทุกคนทำธุรกิจร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ (win-win) โดยประหยัดเวลาและต้นทุน

35 เคลื่อนย้ายจาก “E” มาสู่ “C”
กำไร และผลประโยชน์ เคลื่อนย้ายจาก “E” มาสู่ “C” “E” ยิ่งใหญ่… สร้างกำไร “C” ยิ่งใหญ่กว่า … สร้างผลประโยชน์ร่วมกัน ได้มากกว่า

36 รูปแบบ c-Commerce องค์กรทางธุรกิจองค์กร Commitments, Ideas, Changes
Documents ซัพพลายเออร์ ลูกค้า Products and Services Settlement การทำงานร่วมกัน

37 การวางแผนเชื่อมโยงระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารยุคใหม่
องค์กรสมัยใหม่ต้องทำงานร่วมกัน เป็นสายใยเชื่อมโยงมากขึ้น องค์กร เชื่อมโยงกับ ลูกค้า ระบบสารสนเทศ เชื่อมโยงกับผู้ผลิต ผู้ขายสินค้า ระบบสารสนเทศ ภายในองค์กร ผู้ผลิต ซัพพลายเออร์ ลูกค้า (Demand chain) (Supply chain)

38 โลกใหม่แห่งการทำธุรกิจ ที่มีการเชื่อมโยงกันมากขึ้น
การใช้งานบนเครือข่ายจะมากขึ้น Suppliers Back Office Front Office Customers EDI over Internet EDI over Internet Manufacturing Finance Engineering Sales Support/Service Supply Chain Internal Integration Demand Chain

39 ตัวอย่าง องค์กรบนเครือข่ายเสมือนจริง
การรักษา ความปลอดภัย การชำระเงิน ลูกค้า อินเทอร์เน็ต เว็บเซิร์ฟเวอร์ ฐานข้อมูล ระบบตะกร้า ซื้อสินค้า ระบบสนับสนุน การจัดส่ง

40 การทำงานร่วมกันแบบหนึ่งไปหนึ่ง (one to one)
วัตถุดิบ องค์กร อินเทอร์เน็ต ทำให้การเชื่อมโยงแบบ Point to Point Collaboration Demand Forecasting Seasonal Planing Promotional Visibility Order Review & Release Scorecard Benchmarking Assess Order Policy Service-Level Analysis Data Integration ซัพพลายเออร์ โรงงานผู้ผลิต

41 รูปแบบหนึ่งไปหลาย (one to many)
ห้างค้าปลีกหนึ่งแห่ง (โลตัส, บิ๊กซี, คาร์ฟู, แมคโคร) องค์กร 1 องค์กร องค์กร 2 องค์กร องค์กร 3 องค์กร Common Standard Shared Forecasts Commitments

42 โครงสร้างแบบหลายไปหนึ่ง (many to one)
โรงงานประกอบรถยนต์ OEM โรงงาน ระดับ 1 โรงงานย่อย 1 โรงงาน ระดับ 1 โรงงาน โรงงาน โรงงาน โรงงาน

43 การทำงานร่วมกันแบบหลาย-หลาย (many to many)
ร้านค้าปลีก สร้างระบบตลาดกลาง หรือเว็บเซอร์วิส ตัวแทนจำหน่าย ผู้ผลิต

44 การทำงานร่วมกันแบบสหกิจ
ดูข้อมูลร่วมกัน สื่อสารสองทิศทาง “Chat” EDI ,XML 1. แบ่งกันใช้, ใช้ร่วมกัน กำหนดเป็น เป้าหมายร่วมกัน 2. บุคลากรทำงาน ร่วมกัน

45 ตัวอย่างของ c-Commerce
Auto Process & Workflow Internal Integration, Organizational Design Establish Infrastructure Customer-centric Databank Enable Sharing via Messaging Inter-enterprise Application Integration

46 ตัวอย่าง สายใยของธุรกิจยาในปัจจุบัน
ตัวอย่าง สายใยของธุรกิจยาในปัจจุบัน บริษัทประกันผู้จ่ายเงิน ประกันสังคม ราชการ ผู้บริโภค บริษัทยา แพทย์ ตัวแทนจำหน่าย เภสัชกร Associated trend in size OE enterprises benefit from economies of scale so will tend to be large. Small ones are obsolete. Moves to oligopoly. CI enterprises can be small, especially if their customers are very specialised or local. But some - serving large, distributed customers - will be big. (Maybe.) BM enterprises can be small- little more than a global brand management team. They may also comprise a set of such teams plus market-specific sales and supply managers. PL enterprises can also be small but may benefit from synergies between disciplines, categories and technologies. They may also need to operate some manufacturing for immature products.

47 ตัวอย่าง สายใยการทำงานร่วมกันของธุรกิจยาในอนาคต
ตัวอย่าง สายใยการทำงานร่วมกันของธุรกิจยาในอนาคต ผู้จ่ายเงิน ประกันสังคม ราชการ องค์การอาหารและยา เว็บโฮสติ้ง พอร์ตอล ไบโอเทค Pharma firm ลูกค้า ผู้บริโภค บริษัทยา แพทย์ หน่วยงานวิจัยพัฒนา ตัวแทนจำหน่าย เภสัชกร Associated trend in size OE enterprises benefit from economies of scale so will tend to be large. Small ones are obsolete. Moves to oligopoly. CI enterprises can be small, especially if their customers are very specialised or local. But some - serving large, distributed customers - will be big. (Maybe.) BM enterprises can be small- little more than a global brand management team. They may also comprise a set of such teams plus market-specific sales and supply managers. PL enterprises can also be small but may benefit from synergies between disciplines, categories and technologies. They may also need to operate some manufacturing for immature products. โรงงานผลิต สินค้า ข้อมูลข่าวสาร การสร้างยี่ห้อและการสร้างชื่อสินค้า การเป็นผู้นำด้านสินค้าและบริการ ความใกล้ชิดกับลูกค้า การดำเนินการที่เป็นเลิศ

48 ยุทธศาสตร์นำไอทีใช้ใน องค์กร
IT สร้างการประยุกต์งานด้านต่างๆที่สร้างความได้เปรียบการแข่งขัน IT เป็นอาวุธที่สำคัญ IT สนับสนุนการสร้างกลยุทธ์ที่มีการเปลี่ยนแปลง , e.g, re-engineering IT สร้างเครือข่ายการดำเนินการระหว่างกัน IT ทำให้ต้นทุนโดยรวมลดลง IT สร้างปัญญาให้กับองค์กร

49 การสร้างอำนาจการแข่งขัน
การเฝ้าดูคู่แข่งขัน การทำให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น Increasing market knowledge Improving internal relationships Raising the quality of strategic planning อินเทอร์เน็ตเป็นฐานการทำงาน

50 ยุทธศาสตร์การแข่งขัน ในยุคอินเทอร์เน็ต
ยุทธ์ศาสตร์การแข่งขัน Search for a competitive advantage in an industry, which leads to control of the market. การได้เปรียบเพื่อการแข่งขัน Look for a competitive necessity, which will help your company keep up with the competitors. ยุทธ์ศาสตร์เพื่อความยั่งยืน Maintain profitable & sustainable position against the forces that determine industry competition.

51 แรงขับดันเพื่อการแข่งขันของ องค์กร
ภัยคุกคามจาก new competitors พลังอำนาจการต่อรองของ suppliers พลังอำนาจการต่อรองของ customers (buyers) ภัยคุกคามจาก substitute products or services การแข่งขันจาก existing firms in the industry

52 กลยุทธ์การตอบสนองเพื่อการแข่งขัน
ผู้นำทางด้านราคา Providing products and/or services at the lowest cost in the industry. ความแปลกแตกต่าง Being unique in the industry มีจุดสนใจพิเศษ Selecting a niche market and achieving cost leadership and/or differentation.

53 ระบบการประยุกต์ไอทีเพื่อเพิ่มคุณค่า
การสร้างกิจกรรมในองค์กรเพื่อเพิ่มคุณค่าเรียกว่า “Value System” ทำให้เกิดการทำงานร่วมกับ suppliers ที่จะเป็น inputs และเพิ่มคุณค่าด้วย value chains ประยุกต์ไอทีเพื่อใช้เพิ่มคุณค่าของสินค้าและบริการทั้งในส่วนภายในและภายนอก จัดเป็นพื้นฐานของการทำ Supply Chain Management

54 แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการ eBusiness
มีขบวนการหลายอย่างที่อยู่ในองค์กรที่ทำได้ กรรมวิธีการทำงานด้วย transaction และใช้ eDocument สร้างคุณค่าเพิ่ม เช่น ใช้เครือข่ายเพื่อการสื่อสาร , eSchedule ขบวนการรื้อปรับระบบโดยใช้ไอทีนำ (BPR) การสร้างความสัมพันธ์ลูกค้า สร้างความสัมพันธ์ซัพพลายเออร์

55 ทำไมต้องทำ BPR (รื้อปรับระบบ)
เสริมความต้องการลูกค้า สร้างอำนาจการแข่งขัน เปลี่ยนแปลงสภาพการทำงานให้ได้ประสิทธิภาพ ใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ การร่วมกันทำงานในองค์กรและ ประสานการทำงาน

56 กระบวนทัศน์ทาง eBusiness
Customer Relationship Management (CRM) Supply Chain Management (SCM) eCommerce cCommerce

57 นวัตกรรมใหม่โดยใช้ e ของ องค์กร
สร้างรูปแบบการบริการและผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยใช้ไอที เพิ่มขีดความสามารถและขยายการบริการที่ดี สร้างสิ่งบริการที่แตกต่างจากผู้อื่น สร้างการบริการแบบ super system ให้บริการลูกค้าแบบ customer terminal สามารถส่งแบบ electronic ได้ ใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการขาย ใช้อินเทอร์เน็ตและเว็บกับงานขาย

58 การสร้างความรอบรู้ เพื่อการแข่งขันของ องค์กร
ปัจจุบันอินเทอร์เน็ตเป็นถนนข้อมูลข่าวสาร เชื่อมทุกหนแห่ง สร้างความรู้ความสามารถในการดำเนินการโดยใช้ไอที แหล่งข่าวสารมีอยู่ทั่วไปที่ต้องรับรู้เร็ว รับรู้ได้มาก และทันการ

59 การตอบสนองแรงกดดันด้วยไอทีเพื่อ …
ทำให้ต้นทุนโดยรวมถูกลง สร้างความแปลกแตกต่าง พุ่งเป้าสู่จุดมุ่งหมายที่สำคัญ วางกลยุทธ์โดยใช้ไอทีในการดำเนินการ ให้บริการลูกค้าที่ดี

60 การสร้างสายสัมพันธ์ (chain)
สร้างสายใย Supply Chain สร้างสายใยเรื่อง CRM ความสัมพันธ์กับลูกค้า สนับสนุนการดำเนินการและกิจกรรม ภายในองค์กร ขยายความร่วมพันธมิตร

61 การบริหารเชิงกลยุทธ์
กลยุทธ์ หมายถึง แผนแม่บทหรือแผนปฏิบัติการหลักสำคัญขององค์กร ซึ่งองค์กรใช้กำหนดทิศทางการดำเนินงานระยะยาว รวมทั้งเพื่อเป็นแนวทางในการใช้ทรัพยากรเพื่อให้บรรลุเป้าหมายและได้เปรียบในการแข่งขัน Schermerhorn , 2002:2003

62 การบริหาร หมายถึง กระบวนการที่ผู้บริหารจะกำหนดแผนงานให้ผู้ปฏิบัติรับไปปฏิบัติตามกฎ ระเบียบและวิธีการ ที่กำหนดไว้ โดยมีหัวหน้าคอยควบคุมดูแล และช่วยเหลือเพื่อให้งานสำเร็จตามแผนงานและได้ตามวัตถุประสงค์ขององค์การ

63 การตรวจสอบสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร
ความหมายของการบริหารเชิงกลยุทธ์ กระบวนการตัดสินใจและการปฏิบัติการต่างๆมางด้านการบริหารซึ่งเป็นการกำหนดแผนการดำเนินงานระยะยาวขององค์กร มีองค์ประกอบพื้นฐาน 4 ขั้นตอน การตรวจสอบสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร การจัดทำกลยุทธ์ การปฏิบัติตามกลยุทธ์ การประเมินผลและการควบคุม

64 1. การตรวจสอบสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร
โดยทั่วไปวิธีการตรวจสอบสภาพแวดล้อมที่ง่ายที่สุดคือ การวิเคราะห์ที่เรียกว่า SWOT analysis สภาพแวดล้อมภายใน S = Strengths (จุดแข็ง) W = Weaknesses (จุดอ่อน) สภาพแวดล้อมภายนอก O = Opportunity ( โอกาส) T = Threats ( อุปสรรค )

65 Strategy Implementation
Strategy Formulation S W O T แผนปฏิบัติการ Vision Mission โครงสร้าง กระบวนการ IT บุคลากร Goal (KPI/Target) Strategies การปรับแต่ง

66 ดี กำหนดกลยุทธ์ ไม่ดี ดี ความสำเร็จ ความสุ่มเสี่ยง การ ดำ เนิน งาน ความยุ่งยาก ความล้มเหลว ไม่ดี ดัดแปลงจาก: Thomas V. Bonoma, The Marketing Edge: Making Strategies Work , 1985,p.12

67 2. การจัดทำกลยุทธ์ ( Strategy Formulation)
การจัดทำกลยุทธ์ คือการทำแผนระยะยาว เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารงาน เพื่อให้สอดคล้องกับจุดอ่อน จุดแข็ง เหมาะสมกับโอกาสและปัญหาอุปสสรคที่เป็นอยู่ในเวลานั้น ประกอบด้วย พันธกิจขององค์กร (Mission) วัตถุประสงค์ (Objectives) กลยุทธ์ (Strategies) คือแผนแม่บท นโยบาย (Policies)

68 3. การปฏิบัติงานตามกลยุทธ์
เป็นการนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ ด้วยการจัดทำแผนปฏิบัติการ การจัดทำงบประมาณ และวิธีการดำเนินงาน 4. การประเมินผลและการควบคุม การประเมินผลและการควบคุม เป็นการตรวจสอบกิจกรรมและผลการปฏิบัติงานทั้งหมดขององค์กร ว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์หรือไม่

69 Internal Environment Analysis
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน S = Strengths (จุดแข็ง) W = Weaknesses (จุดอ่อน) Strengths (จุดแข็ง) หมายถึงการวิเคราะห์ทรัพยากร เช่น สินทรัพย์ (Asset) ความสามารถ ( Competency) กระบวนการ ( Process ) ทักษะหรือความรู้ ( Skill and Knowledge ) ถ้าทรัพยากรต่างๆเหล่านี้ ช่วยให้บริษัทได้เปรียบในการแข่งขัน ถือว่าเป็นจุดแข็ง ในทางตรงข้ามถ้าทรัพยากรเหล่านี้ไม่เป็นประโยชน์ในการแข่งขัน ถือว่าเป็นจุดอ่อน

70 การวิเคราะห์ลูกโซ่แห่งคุณค่า
Value chain analysis เป็นเครื่องมือวิเคราะห์องค์กรของ ไมเคิล อี พอร์ตเตอร์ ที่นิยมกันมาก เพื่อให้ผู้บริหารใช้เป็นแนวทางในการกำหนดจุดอ่อนจุดแข็งขององค์กร พอร์ตเตอร์ ได้แบ่งธุรกิจออกเป็นชุดกิจกรรม 2 ชุด คือ กิจกรรมหลัก (Primary Activities) และกิจกรรมสนับสนุน ( Support Activities)

71 The Value Chain (Continued)
Secondary Activities Value Primary Activities

72 กิจกรรมหลักแบ่งออกเป็น 5 ประเภท
กิจกรรมด้านขาเข้า (Inbound Logistics) ได้แก่กิจกรรมที่เกี่ยวกับการรับ การจัดเก็บ และการนำปัจจัยการผลิตสินค้าและการบริการ เช่น การจัดการวัตถุดิบ คลังสินค้า การจัดลำดับการขนส่ง การส่งคืนสินค้าแก่ผู้จำหน่ายวัตถุดิบ กิจกรรมการปฏิบัติการ (Operations) เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับการแปลงปัจจัยการผลิตให้เป็นสินค้า เช่นการใช้เครื่องจักร การบรรจุภัณฑ์ การประกอบผลิตภัณฑ์ การบำรุงรักษาเครื่องจักร กิจกรรมด้านขาออก (Outbound Logistics) เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับการรักษาสินค้าสำเร็จรูป การกระจายสินค้าไปยังผู้บริโภค

73 กิจกรรมสนับสนุนแบ่งออกเป็น 4 กิจกรรม
กิจกรรมการตลาดและการขาย (Marketing and Sale) เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับการจัดซื้อ โดยผู้ซื้อจะเข้าถึงและซื้อสินค้า เช่นโฆษณา ส่งเสริมการขาย การเสนอราคา กิจกรรมการบริการ (Services) เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับการบริการเพื่อให้รักษาคุณค่าของสินค้าไว้ เช่น การติดตั้ง การซ่อม การฝึกอบรม กิจกรรมสนับสนุนแบ่งออกเป็น 4 กิจกรรม กิจกรรมการจัดซื้อจัดหา (Procurement) กิจกรรมการจัดการทรัพยากรมนุษย์ (HRM) กิจกรรมการพัฒนาเทคโนโลยี (Technology Dev.) กิจกรรมโครงสร้างสนับสนุนอื่นๆ ( Firm Infrastructure)

74 กิจกรรมสนับสนุนแบ่งออกเป็น 4 กิจกรรม
กิจกรรมการจัดซื้อจัดหา (Procurement) เป็นการสั่งซื้อหรือนำเข้าวัตถุดิบและทรัพยากรเข้าในห่วงโซ่คุณค่า รวมถึงเครื่องจักร เครื่องมืออุปกรณ์สำนักงาน วิธีการจัดหาอาจทำได้หลายรูปแบบ ทำอย่างไรให้ได้เปรียบของต้นทุนและความแตกต่างของผลิตภัณฑ์ได้ กิจกรรมการจัดการทรัพยากรมนุษย์ (HRM) เป็นการเสาะแสวงหาบุคลากร การจ้างพนักงาน การฝึกอบรม การพัฒนาบุคลากรและการให้ผลตอบแทน มีผลกระทบต่อความได้เปรียบการแข่งขันเป็นอย่างมากขององค์กร

75 กิจกรรมสนับสนุนแบ่งออกเป็น 4 กิจกรรม
กิจกรรมการพัฒนาเทคโนโลยี (Technology Development.) กิจกรรมทางธุรกิจทุกกิจกรรมจะต้องมีเทคโนโลยีแฝงอยู่เสมอไม่ว่าจะเป็นความรู้ กระบวนการทำงาน หรืออุปกรณ์ทั้งหลาย การพัฒนาเทคโนโลยีจะครอบคลุมถึง การวิจัย การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบกระบวนการ การเลือกเครื่องมือ และการบริการ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ให้ได้เปรียบการแข่งขัน กิจกรรมโครงสร้างสนับสนุนอื่นๆ ( Firm Infrastructure) อาทิเช่น การจัดการทั่วไป การวางแผน การเงินและระบบบัญชี กฎหมาย ระบบคุณภาพ เป็นต้น

76 The Value Chain (Continued)
Internal E-Billing E-Payments

77 มีวิธีวิเคราะห์อื่นๆอีกหลายวิธี เช่น
การวิเคราะห์ตามหน้าที่ธุรกิจ เช่น การตลาด การเงิน การวิจัยพัฒนา การผลิต ทรัพยากรบุคคล และระบบข้อมูล โดยการวิเคราะห์ถึงการใช้ทรัพยากรต่างๆว่าได้ผลดีแค่ไหน เปรียบเทียบกับคู่แข่งขัน การวิเคาะห์แบบโครงร่าง 7 S ของแมคเคนซีย์ ประกอบด้วยส่วนสำคัญต่อความสำเร็จในการจัดการทางธุรกิจ คือ โครงสร้าง กลยุทธ์ ระบบต่างๆ รูปแบบการบริหาร พนักงานทั้งหมด ทักษะฝีมือ และค่านิยม

78 7S Framework The McKinsey
STRUCTURE STRATEGY SYSTEMS SHARED VALUES STYLE SKILLS STAFF The McKinsey

79 External Environmental Analysis
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก องค์กรขนาดใหญ่แบ่งปัจจัยสภาพแวดล้อมออกเป็น 4 ด้าน เพื่อศึกวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงปัจจัยตัวแปรที่สำคัญที่ก่อให้เกิดโอกาสและอุปสรรค มีดังนี้ 1. ปัจจัยตัวแปรทางด้านเศรษฐกิจ ปริมาณเงิน อัตราดอกเบี้ย ภาวะเศรษฐกิจ เงินเฟ้อ การว่างงาน ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ

80 2. ปัจจัยด้านเทคโนโลยี ค่าใช้จ่ายในการวิจัยพัฒนา
การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การป้องกันสิทธิบัตร พัฒนาการทางเทคโนโลยีต่าง อื่นๆที่มีผลกระทบ

81 3. ปัจจัยด้านการเมืองและกฎหมาย
3. ปัจจัยด้านการเมืองและกฎหมาย การออกกฎหมายป้องกันการผูกขาด กฎหมายภาษี กฎหมายสิ่งแวดล้อม เสถียรภาพของรัฐบาล การผ่อนคลายกฎระเบียบต่างๆ ทัศนคติของบริษัทต่างชาติ

82 4. ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม
การเปลี่ยนแปลงการดำเนินชีวิต การกระจายอายุของประชากร อัตราการเกิดและเติบโตของประชากร ความสนใจต่อสภาพแวดล้อม การคาดหวังในอาชีพ และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

83 ความหมายของการบริหารเชิงกลยุทธ์
กระบวนการวางแผนการดำเนินงานโดยใช้ กลวิธีต่างๆอย่างมีชั้นเชิง สำหรับการ ปฏิบัติงานและควบคุม เพื่อให้องค์การบรรลุ ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

84 คุณสมบัติของผู้บริหารที่ทำหน้าที่กำหนดกลยุทธ์
เป็นบุคคลที่มีความรอบรู้ในธุรกิจ ชนิดนั้นเป็นอย่างดี 2. เป็นบุคคลที่มองการณ์ไกลมีวิสัยทัศน์ดี 3. เป็นบุคคลที่มีความเชื่อมั่นในตนเอง 4. เป็นบุคคลที่มีความอดทนไม่ท้อแท้ 5. เป็นบุคคลที่มีมนุษย์สัมพันธ์ดี

85 ความสำคัญของการบริหารเชิงกลยุทธ์
องค์กรอยู่ภายใต้อิทธิพลสภาพแวดล้อมที่ ซับซ้อน เปลี่ยนแปลงมาก วิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ได้ถูกต้อง ทำให้องค์กรสามารถปรับตัว และดำรงต่อไปได้

86 การจัดการเชิงกลยุทธ์ ประกอบด้วยงานที่สำคัญ 9 ประการ
การกำหนดพันธกิจ (Mission) เช่น การกำหนดวัตถุประสงค์ ปรัชญาและเป้าหมาย 2. การศึกษาวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน เพื่อหาจุดแข็ง( Strength และจุดอ่อน (Weakness) ขององค์กร 3. การประเมินสภาพแวดล้อมภายนอกเพื่อค้นหาโอกาสความได้เปรียบ (Opportunity) และหลีกเลี่ยงอุปสรรค( Threats)

87 4. การวิเคราะห์ทางเลือกในการดำเนินงานขององค์กร โดยการจัดการทรัพยากรให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมภายนอก
5. กำหนดทางเลือกในการดำเนินงานที่เหมาะสมที่สุด ให้สอดคล้องกับพันธกิจขององค์กร 6. กำหนดวัตถุประสงค์และจัดทำแผนแม่บท 7. จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีให้สอดคล้องกับแผนแม่บท 8. นำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ เพื่อให้เหมาะสมกับโครงสร้างและเทคโนโลยี 9. ประเมินผลความสำเร็จของแผนกลยุทธ์

88 การเชื่อมโยงวิวของผู้บริหารกับผู้ปฏิบัติ
วัตถุประสงค์และ เป้าหมายขององค์กร กลยุทธ์ธุรกิจ (ผู้บริหาร) กลยุทธ์ไอที (ผู้จัดการ ISD)

89 การวางแผนกลยุทธ์ไอทีกับแรงกดดันทางธุรกิจ

90 การวางแผนกลยุทธ์ไอทีกับแรงผลักดันทางธุรกิจ
ทิศทางของ (กลยุทธ์) ไอทีจะต้องสนับสนุนและสอดคล้องกับทิศทางของ (กลยุทธ์) ธุรกิจ โดยมีเงื่อนไขทางธุรกิจมาจำกัดขอบเขต แรงกดดันเป็นตัวกำหนดสิ่งที่จะต้องทำ (ทิศทางของธุรกิจ) เงื่อนไขเป็นตัวจำกัดสิ่งที่สามารถทำได้จริง แผนกลยุทธ์ไอทีเป็นตัวอธิบายว่าจะทำได้อย่างไร ภายใต้เงื่อนไขที่มีอยู่นั้น

91 การกำหนดวิสัยทัศน์ไอที
วิสัยทัศน์ คือภาพของอนาคตที่ต้องการ องค์กรต้องกำหนดวิสัยทัศน์ด้านไอทีของตนให้ชัดเจน วิสัยทัศน์ไอทีต้องสอดคล้องและสนับสนุนวิสัยทัศน์ขององค์กร

92 การกำหนดวัตถุประสงค์/เป้าหมาย (การประยุกต์ไอทีในองค์กร)
เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ และทำให้การทำงานมีผลิตภาพสูงขึ้น เพื่อทำการวิเคราะห์สถานการณ์ในอดีต และทำการวางแผนปรับเปลี่ยนองค์กร เพื่อลดขั้นตอนในการทำงาน และลดขนาดขององค์กรลง (Downsizing)

93 CIO มีบทบาทหน้าที่อย่างไร
เพื่อกำหนดนโยบายและวิสัยทัศน์ไอทีขององค์กร เพื่อสนับสนุนการจัดทำแผนแม่บทไอที เพื่อสนับสนุนการใช้ทรัพยากรสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อส่งเสริมการมีและการใช้ไอที และระบบสารสนเทศในองค์กรอย่างแพร่หลาย และต่อเนื่อง

94 การอนุมัติและจัดสรรงบประมาณ
CIO กำกับให้หน่วยงานมีแผนแม่บทด้านไอที CIO สนับสนุนและผลักดันให้จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรอื่นๆ ให้เป็นไปตามแผนแม่บทไอที CIO จัดทำงบประมาณและปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกขององค์กร

95 กำกับการพัฒนาระบบสารสนเทศ
สนับสนุนการทำงานตามแผนปฏิบัติการและ สนับสนุนให้มีการปรับปรุงแผนทุกปี ติดตามความก้าวหน้าของการพัฒนาระบบสารสนเทศขององค์กร ศึกษาสาเหตุของปัญหาการพัฒนาระบบและหาแนวทางแก้ไข

96 1. ความหมายของระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์
1. ความหมายของระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ ระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ (Strategic Information System – SIS) คือ ระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ (SIS) คือ ระบบคอมพิวเตอร์ในระดับใดก็ตามขององค์การซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์ การดำเนินงาน ผลผลิต การบริการหรือความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ขององค์การ เพื่อที่จะสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันกับองค์การ (Laudon & Laudon, 1995) ระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ (SIS) คือ ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนหรือสร้างตัวแปรและกลยุทธ์ความได้เปรียบในการแข่งขัน SIS อาจจะเป็นระบบสารสนเทศแบบใดก็ได้ TPS, MRS, DSS, ฯลฯ ที่ช่วยทำให้ความได้เปรียบในการแข่งขันเพิ่มขึ้น ลดความเสียเปรียบในการแข่งขัน หรือช่วยในการบรรลุผลด้านกลยุทธ์อื่น ๆ (Normann, 1994)

97 Strategic Information System
ระบบสารสนเทศทุกชนิดเช่น EIS, OIS, TPS, KMS—เป็นส่วนที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป้าหมาย กระบวนการ ผลผลิต หรือสภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อองค์กร ที่ทำให้ได้เปรียบในการแข่งขันหรือข้อเสียในการแข่งขัน ข้อดีในการแข่งขัน ข้อดีเหนือตู่แข่งขันอื่นๆ บางครั้งเราได้เช่น ต้นทุน คุณภาพ ความเร็ว ความแตกต่างข้อมูลของห่วงโซ่คุณค่า ผลผลิตของพนักงาน การปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ

98 Information Technology – Supports Strategic Management
Innovative applications: ประยุกต์การใช้นวัตกรรมเพื่อสนับสนุนกลยุทธ์โดยตรง เพื่อให้เป็นข้อได้เปรียบขององค์กร. Competitive weapons: ระบบสารสนเทศจะช่วยให้เป็นอาวุธของการแข่งขันขององค์กร Changes in processes: ไอทีสนับสนุนกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจที่แปลกลยุทธ์ให้เป็นข้อได้เปรียบ Links with business partners: ไอทีเป็นตัวเชื่อมให้พนธมิตรทางการค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล.

99 Information Technology– Supports Strategic Management (Continued)
Cost reductions: ไอทีสามารถทำให้บริษัทลดต้นทุน. Relationships with suppliers and customers: ไอทีสามารถใช้สร้างความสัมพันธ์ของผู้ค้าส่งและลูกค้าเพื่อสร้างราคาที่เปลี่ยนแปลง. New products: องค์กรสามารถปรับเปลี่ยนการลงทุนด้านไอทีเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เป็นความต้องการของตลาด. Competitive intelligence: ไอทีสามารถสร้างความฉลาดทางธุรกิจโดยการรวบรวม วิเคราะห์สารสนเทศที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของตลาด คู่แข่งขัน และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง.

100 กรอบแนวคิดเรื่องระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์
ในการนำระบบสารสนเทศมาใช้ในเชิงกลยุทธ์ ผู้บริหารจำเป็นต้องเข้าใจว่า IT ไม่ใช่แค่เครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบสารสนเทศจะต้องมีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ ข้อมูล หรือ สารสนเทศที่ป้อนเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์, ฮาร์ดแวร์, ซอฟต์แวร์, และเทคโนโลยีการสื่อสาร โดยต้องพิจารณาประกอบกับสิ่งแวดล้อม, ความสามารถ, กระบวนการในการทำงาน, และระดับของการใช้กลยุทธ์ในองค์กรด้วย

101 กรอบแนวคิดเรื่องระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ (ต่อ)
ความสัมพันธ์ของกลยุทธ์ด้านต่างๆ กลยุทธ์ของธุรกิจ กลยุทธ์ขององค์การ กลยุทธ์ด้านสารสนเทศ

102 กรอบแนวคิดเรื่องระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ (ต่อ)
กลยุทธ์ของธุรกิจ เป็นกรอบสำหรับกลยุทธ์ขององค์กรและกลยุทธ์สารสนเทศ, เป็นตัวกำหนดทิศทางของธุรกิจ, เป็นตัวกำหนดแผนเพื่อตอบสนองต่อพลังของตลาด ความต้องการของลูกค้าและความสามารถของ องค์กร

103 กรอบแนวคิดเรื่องระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ (ต่อ)
กลยุทธ์ขององค์กร เป็นกลยุทธ์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบองค์กร ควบคุมการดำเนินงานขององค์กรให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามกลยุทธ์ของธุรกิจได้

104 กรอบแนวคิดเรื่องระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ (ต่อ)
กลยุทธ์ด้านสารสนเทศ ใช้ในการสนับสนุนกลยุทธ์ของธุรกิจ และกลยุทธ์ขององค์กร และสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน

105 Competitive Intelligence
ความสำคัญอีกประการหนึ่งของการพัฒนาข้อได้เปรียบในการแข่งขันคือความต้องการสารสนเทศที่ดีและกิจกรรมของคู่แข่งขัน. สารสนเทศจะเป็นตัวขับเคลื่อนให้เกิดประสิทธิภาพทางธุรกิจ โดยการเพิ่มความรู้ด้านการตลาด บริหารจัดการความรู้ เพิ่มคุณภาพของการวางแผนกลยุทธ์ However once the data has been gathered it must be processed into information and subsequently business intelligence. Porters 5 Forces is a well-known framework that aids in this analysis.

106 Porter’s Competitive Forces Model
The model recognizes five major forces that could endanger a company’s position in a given industry. The threat of entry of new competitors The bargaining power of suppliers The bargaining power of customers (buyers) The threat of substitute products or services The rivalry among existing firms in the industry External Competitive Forces

107 Porter’s Competitive Forces Model

108 ผลกระทบของสารสนเทศต่อการแข่งขัน
The rivalry among existing firms in the industry การแข่งขันจากคู่แข่ง การแข่งขันจากคู่แข่งเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่ทำให้บริษัทต้องแสวงหาความได้เปรียบในการแข่งขัน ในอุตสาหกรรมที่มีการแข่งขันอย่างรุนแรง ดูได้จากต้นทุนคงที่ที่เข้าไปหรือออกไปจากอุตสาหกรรม ความแตกต่างของผลิตภัณฑ์มีน้อย การแข่งขันจำนวนมาก ความสามารถในการเข้าถึงช่องทางกระจายสินค้า นโยบายของรัฐบาล ซึ่งภายใต้สถานการณ์ดังกล่าวบริษัทต้องมุ่งปกป้องส่วนแบ่งการตลาดของตน ในตลาดที่มีการแข่งขันอย่างรุนแรง

109 ผลกระทบของสารสนเทศต่อการแข่งขัน
The threat of entry of new competitors แรงกดดันจากคู่แข่งขันรายใหม่ แรงกดดันจากคู่แข่งขันรายใหม่เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทำให้บริษัทยิ่งต้องสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน แรงกดดันนี้จะเกิดขึ้นเมื่อการเข้าและออกจากอุตสาหกรรมมีต้นทุนต่ำและเทคโนโลยีที่ใช้ในการเริ่มต้นและดำเนินการทางธุรกิจมีอยู่ทั่วไป ดังองค์ต้องสร้างสิ่งกีดขวางในการเข้ามาสู่ตลาดของคู่แข่งรายใหม่ เช่น การควบคุมการเข้าถึงช่องทางทางการจำหน่ายด้วย

110 ผลกระทบของสารสนเทศต่อการแข่งขัน
The threat of substitute products or services แรงกดดันจากสินค้าและบริการทดแทน เมื่อมีสินค้าหรือบริการอื่นที่คล้ายกัน ในการตอบสนองความต้องการของลูกค้าเกิดขึ้นมากเท่าไร บริษัทต้องยิ่งสร้างความได้เปรียบให้ได้มากขึ้นเท่านั้น

111 ผลกระทบของสารสนเทศต่อการแข่งขัน
The bargaining power of customers (buyers) อำนาจการต่อรองจากผู้ซื้อ ลูกค้าจะมีอำนาจการต่อรองในการซื้อสินค้ามากขึ้น เนื่องจาก ปริมาณสินค้าชนิดเดียวกันในตลาดมีมาก คุณภาพเท่า ๆ กัน และสามารถหาซื้อได้ทั่วไป

112 ผลกระทบของสารสนเทศต่อการแข่งขัน
The bargaining power of suppliers อำนาจการต่อรองจากซัพพลายเออร์ อำนาจการต่อรองของซัพพลายเออร์ ขึ้นอยู่กับหลายประการ เช่น จำนวนซัพพลายเออร์ ลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ์ ความสัมพันธ์ของผู้ซื้อที่มีต่อซัพพลายเออร์

113 สรุป ระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ (Strategic Information System : SIS) คือ ระบบสารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันขององค์การ กรอบแนวคิดเรื่อง SIS มี 2 โมเดล คือ โมเดลของพลังการแข่งขัน (Competitive Forces Model) และโมเดลของโซ่ของคุณค่า (Value Chain Model) โมเดลของพลังการแข่งขันประกอบด้วยพลัง 5 ปัจจัย คือ การแข่งขันของผู้แข่งขันแรงกดดันจากคู่แข่งขันรายใหม่ แรงกดดันจากสินค้า/บริการทดแทน อำนาจต่อรองของลูกค้า อำนาจพลังต่อรองของซัพพลายเออร์ การสร้างความได้เปรียบทางการข่างขันอาจใช้ กลยุทธ์ต้นทุนต่ำ กลยุทธ์สร้างความแตกต่าง กลยุทธ์เน้นกลุ่มเป้าหมาย ในการจัดการกับพลังทั้งห้า

114 โครงสร้างพื้นฐานและสถาปัตยกรรมของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ บริการและการจัดการที่รองรับทรัพยากรในองค์กร องค์ประกอบที่สำคัญ ได้แก่ Computer Hardware General-purpose Software Networks and Communication Facilities Database Information Management Personal

115 IT Planning การวางแผน IT มีความสำคัญต่อผู้ใช้ด้วยเหตุผลดังนี้
1. ผู้ใช้จะต้องกำหนดการวางแผนในหน่วยงานตนเอง 2. ผู้ใช้จะต้องมีส่วนร่วมในการวางแผน IT ฉะนั้นผู้ใช้จะต้องเข้าใจกระบวนการวางแผน 3. การวางแผนร่วมกันท่านจะต้องศึกษา IT Infrastructure และมองอนาคตของแต่ละหน่วยในองค์กร

116 การวางแผนกลยุทธ์ การวางแผนกลยุทธ์เป็นการวางแผนระยะยาว มีรูปแบบดังนี้
พิจารณาจากการประยุกต์ใช้งาน การปฏิบัติงานในด้านเพิ่มผลการผลิต การวางแผนด้านบริการ การจัดการด้านปัญหา การจัดการเปลี่ยนแปลง การวางแผนเพิ่มประสิทธิภาพ การวางแผนเครือข่าย

117 การวางแผนทรัพยากร การวางแผนอุปกรณ์ การวางแผนพื้นที่ การวางแผนบุคลากร การวางแผนงบประมาณ กิจกรรมผู้บริหาร การวางแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ การพัฒนาระบบสื่อสาร

118 การวางแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้กำหนดแนวคิดไว้ว่า การวางแผนเทคโนโบยีสารสนเทศนั้น ผู้วางแผนจะต้องเข้าใจวัตถุประสงค์ ภารกิจ กลยุทธ์ นโยบาย และวิสัยทัศน์ สภาพแวดล้อมขององค์กรทั้งทางด้านกฏหมายและเศรษฐกิจ งบประมาณ เพื่อศึกษาว่าองค์กรเราอยู่ในระดับใด เป้าหมายเป็นอย่างไร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลและสารสนเทศในองค์กร เพื่อให้ผู้บริหารได้รับข้อมูลและสารสนเทศอย่างรวดเร็ว ถูกต้อง สามารถนำไปใช้ในการบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

119 องค์ประกอบของแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ แผนพัฒนาระบบสารสนเทศ แผนการติดตั้งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ แผนการติดตั้งเครือข่ายการสื่อสารและซอฟต์แวร์ แผนพัฒนาบุคลากรและโครงสร้างของหน่วยงาน แผนการปรับปรุงโครงสร้างองค์กรด้านสารสนเทศ แผนการศึกษาอบรมบุคลากรในหน่วยงาน

120 แผนการดำเนินงานด้านพัฒนาบุคลากรด้านไอที
แผนงบประมาณประกอบด้วย งบประมาณด้านพัฒนาระบบสารสนเทศ งบประมาณด้านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ งบประมาณด้านเครือข่ายการสื่อสารและซอฟต์แวร์

121 แผนกลยุทธ์ นโยบาย วิสัยทัศน์ ความต้องการ ของระบบ สภาพแวดล้อมภาย นอกและปัญหา แผน เทคโนโลยีสารสนเทศ สถาปัตยกรรม คอมพิวเตอร์ งบประมาณ บุคลากรด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ ฐานข้อมูล สถาปัตยกรรม เครือข่ายและสื่อสาร

122 A Four stage Model of IT Planning.

123 IT Planning — A Critical Issue for Organizations Continued
A four-stage model of IT planning that consists of four major activities. Strategic IT planning: Establishes the relationship between the overall organizational plan and the IT plan. Information requirements analysis: Identifies broad, organizational information requirements to establish a strategic information architecture that can be used to direct specific application development. Resource allocation: Allocates both IT application development resources and operational resources. Project planning: Develops a plan that outlines schedules and resource requirements for specific IS projects. The four-stage planning model is the foundation for the development of a portfolio of applications that is highly aligned with the corporate goals and has the ability to create an advantage over competitors.

124

125

126 Strategic Information Technology Planning - Stage 1
The first stage of the IT planning model identifies the applications portfolio through which an organization will conduct its business. This stage can also be expanded to include the process of searching for strategic information systems (SIS) that enable a firm to develop a competitive advantage. This involves assessing the current business environment and the future objectives and strategies.

127 IT Alignment with Organizational Plans: The primary task of IT planning is to identify information systems applications that fit the objectives and priorities established by the organization. Analyze the external environment (industry, supply chain, competition) and the internal environment (competencies, value chain, organizational structure) then relate them to technology (alignment). Alignment is a complex management activity whose complexity increases in accordance with the complexity of organization.

128 Strategic Information Technology Planning – Methodologies
Several methodologies exist to facilitate IT planning. The business systems planning (BSP) model, developed by IBM deals with two main building blocks which become the basis of an information architecture. Business processes Data classes

129 Business systems planning (BSP)

130 IT Planning methodologies
ในยุคแรกคือ Business Systems planning (BSP) พัฒนาโดยบริษัท IBM หมายถึงการออกแบบ Top down approach จะเริ่มต้นที่กลยุทธ์ธุรกิจและแบ่งออกเป็น 2 งานหลักคือ Business process และ กลุ่มของข้อมูล ซึ่งจะเป็นตัวกำหนดสถาปัตยกรรมสารสนเทศ จากสถาปัตยกรรมสารสนเทศนักวางแผนจะกำหนดฐานข้อมูลขององค์กรและกำหนดการประยุกต์ใช้งานของกลยุทธ์ธุรกิจ

131 Define business process Define information architecture
ขั้นตอนการศึกษา BSP Define business process Define data classes Define information architecture Study team 1 Review study to date, documentation standards, and team understanding of results, Confirm resource allocations for the next stage.

132 Analyze current systems support Define finding and conclusions
ขั้นตอนการศึกษา BSP Analyze current systems support 2 Interview Executives Executive sponsor Define finding and conclusions Results to date , Update the study plan , Review the executive interview objectives.

133 Review information resource MGT
Team agreement on all major issues. Review all supporting to be completed. Confirm resource allocation. Update the plan. Determine architecture priorities 4 Study team Review information resource MGT 3 Development recommendations Executive sponsor Report on both qualitative and qualitative results of the executive interviews. Present and validate the assessment of business problems and benefits. Update the study plan.

134 Development recommendations
5 Report results. Review all major finding and recommendations. Demonstrate an understanding of the business and its requirements . Gain executive sponsor’s agreement that the team is qualified to present the recommendations.

135 Stages Of It Growth Model, indicates that organizations go through six stages of IT growth
Initiation. When computers are initially introduced. Expansion (Contagion). Centralized growth takes place as users demand more applications. Control. In response to management concern about cost versus benefits, systems projects are expected to show a return. Integration. Expenditures on integrating (via telecommunications and databases) existing systems Data administration. Information requirements rather than processing drive the applications portfolio. Maturity. The planning and development of IT are closely coordinated with business development

136 Nolan’s Stages of IS Growth
เส้นโค้งการเจริญเติบโต จะนำมาใช้ในการพิจารณาว่าทำไมการตัดสินใจของ MIS ที่กระทำ ณ.จุดหนึ่งอาจไม่มีความเหมาะสม ณ.ช่วงเวลาต่างๆ ผู้บริหาร MIS สามารถค้นหาโมเดลระยะการเจริญเติบโตเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการวางแผน เส้นโค้ง SOG มีประโยชน์มากสำหรับทำความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงในลักษณะของการตัดสินใจที่เกิดขึ้นหลังจากการแนะนำระบบใหม่และขบวนการที่สมบูรณ์ตั้งแต่เริ่มต้นจนจบ

137

138 Nolan’s Stages of IS Growth
Initiation Expansion Control Integration Data administration Maturity

139 Initiation ระยะที่ 1 ช่วงนี้เทคโนโลยีจะถูกนำเข้าสู่องค์กรและมีการนำมาประยุกต์ใช้ เช่น การประมวลผลแบบแบตซ์ เพื่อช่วยในการทำงานอัตโนมัติและลดต้นทุน เน้นการประยุกต์ใช้งานที่ชัดเจน เป็นการทำงานการจัดกลางที่ส่วนกลาง ผู้บริหารเริ่มสนใจเทคโนโลยี Expansion : ระยะที่ 2 ( Contagion) เป็นระยะการขยายหรือการติดต่อ ระบบแบบศูนย์กลางได้มีการขยายอย่างรวดเร็ว ผู้ใช้มีความต้องการที่จะใช้งานบนพื้นบานของการได้เปรียบและใช้อย่างแพร่หลาย เปลี่ยนเข้าสู่ระบบ Online สามารถตอบสนองผู้ใช้ทันที และรวดเร็ว

140 Control ระยะที่ 3 ระยะการควบคุม ผู้บริหารจะคำนึงถึงค่าใช้จ่ายต้นทุนกับประโยชน์ที่ได้เป็นประเด็นสำคัญ ปัญหาของการวางแผนและการควบคุมถูกเสนอขึ้นมา ผู้ใช่สามารถแจงเหตผล ของการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีในด้านต้นทุนและประสิทธิภาพที่ได้รับ โดยการปรับและควบคุมให้เหมาะสม เช่น การกำหนดมาตรฐาน การควบคุมต้นทุน และการวางแผนการเจริญเติบโต

141 Integration : ระยะที่ 4 ระยะการรวมกัน การแพร่หลายของการใช้เทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง เราสามารถพัฒนาในการรวมเทคโนโลยีต่างๆเหล่านนี้เช่น ระบบการสื่อสาร ฐานข้อมูล ที่สามารถทำงานร่วมกัน ผู้ใช้จะต้องสร้างแผนกระบบสารสนเทศเพื่อบริการกับผู้ใช้ ไม่เพี่ยงแต่การแก้ปัญหาระบบที่ใช้อยู่ ในระยะนี้ เป็นช่วงของการใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศและการประมวลผลความรู้

142 Data administration : ระยะที่ 5 การบริหารข้อมูล เป็นช่วงของการต้องการสารสนเทศที่ต้องการใช้งานร่วมกันในองค์กร ผู้บริหารจะต้องมีการจัดการระบบสารสนเทศและควบคุมการใช้งานฐานข้อมูล เพื่อให้มั่นใจว่าระบบข้อมูลเชื่อถือได้และมีประสิทธิภาพของการใช้งาน ผู้ใช้สามารถเข้าใจคุณค่าของสารสนเทศร่วมกัน

143 Maturity : ระยะที่ 6 ระยะการเจริญเติบโตเต็มที่ การวางแผนและการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ จะถูกรวมเข้าด้วยกันเข้าสู่ระบบงานขององค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพในระบบธุรกิจ การวางแผนข้อมูลกลยุทธ์และข้อมูลของทรัพยากรการจัดการจะเชื่อมความรับผิดชอบกับระบบ MIS กับผู้ใช้ทั้งหลาย ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทในการวางแผนกลยุทธ์

144 Ends / Means Analysis เป็นกลยุทธ์ในการวางแผนสารสนเทศที่จะแนะนำสำหรับผู้วางแผน ไอที ที่ศึกษาถึงความต้องการสารสนเทศขององค์กรหรือแผนกหรือระดับการจัดการต่างๆ เทคนิคชนิดนี้มองที่จุดแรกคือ ENDS หรือส่วนแสดงผล (สินค้า การบริการ หรือสารสนเทศ) คือผลลัพธ์ที่องค์กรทำการประมวลผล ส่วนคำว่า MEANS หมายถึงการรับข้อมูลและการประมวลผล ขณะที่องค์กร แผนก หรือการประมวลผลอิสระ คือส่วนของการป้อนข้อมูล ตัวอย่างประมวลผลบัญชี จะเป็นตัวจ่ายสารสนเทศด้านงบประมาณให้กับองค์กร

145 ENDS/MEANS Analysis เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิผลและประสิทธิภาพ จุดมุ่งหมายของ ประสิทธิผล ( Effectiveness) จะทำอย่างไรให้ผลลัพธ์ออกมาดีจากการประมวลผลที่กำหนดขึ้นให้สอดคล้องกับความต้องการทางอินพุตของกระบวนการอื่นๆ ประสิทธิภาพ ( Efficiency) จะอ้างจากจำนวนของทรัพยากรที่ต้องการเปลี่ยนจากอินพุตเป็นเอ้าพุต

146 ตัวอย่าง การพัฒนาความต้องการสารสนเทศโดยการใช้ ENDS/MEANS Analysis ในการจัดการสินค้าคงคลัง ต้องกำหนดสิ่งต่อไปนี้ END Specification : ผลลัพธ์สุดท้าย เป็นหน้าที่การจัดการสินค้าคงคลัง คือการจัดเก็บรายการสินค้าที่ต่ำสุดแต่อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ MEAN Specification : การรับข้อมูลและกระบวนการที่ทำให้เกิดผลลัพธ์ที่ต้องการ (ENDS) รายการสินค้า เฃ่น การพยากรณ์ความต้องการในอนาคต จำนวนสินค้าที่มีอยู่ รายการสั่งสินค้า รายการที่เลิกใช้ หรือเงื่อนไขที่ไม่ใช้ นโยบายการจัดเก็บสินค้า ฯ

147 Efficiency measures : การวัดประสิทธิภาพในการจัดการสินค้าคงคลัง คือจะพิจารณาตามจำนวนสินค้า และต้นทุนของการสั่งซื้อ ต้นทุนการจัดเก็บสินค้า และต้นทุนการสูญเสียหรือสินค้าไม่ใช้ Effectiveness measures : การวัดประสิทธิผลในการจัดการสินค้าคงคลัง จะพิจารณาตามจำนวนรายการสินค้าที่หมด สินค้าค้างสต๊อค

148 Critical success factors (CSFs) are those few things that must go right in order to ensure the organization's survival and success. Critical success factors vary by industry categories—manufacturing, service, or government—and by specific industries within these categories. Sample questions asked in the CSF approach are: What objectives are central to your organization? What are the critical factors that are essential to meeting these objectives? What decisions or actions are key to these critical factors? What variables underlie these decisions, and how are they measured? What information systems can supply these measures?

149 Critical Success Factor : ( CSF)
เป็นเทคนิคที่พัฒนาโดย Rockart (1982) เรียกว่าปัจจัยแห่งความสำเร็จ เป็นเทคนิคในการกำหนดความต้องการสารสนเทศของผู้บริหาร เป็นแบบที่ใช้กับองค์กรทั่วๆไป เป็นการวิเคราะห์ปัจจัยที่สำคัญที่ระบุถึงสิ่งที่องค์กรต้องการปฏิบัติงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย จะต้องมีการระบุปัจจัยที่ชัดเจนเพื่อนำไปวางแผนขององค์กร กิจกรรมการวางแผนที่เกิดขึ้นให้เป็นไปตามความต้องการและตามลำดับความสำคัญ ปัจจัยแห่งความสำเร็จขึ้นอยู่กับกลยุทธ์ขององค์กร การใช้เทคนิคแบบนี้สามารถเปลี่ยนแปลงบนพื้นฐานแห่งเวลาและเงื่อนไข เช่นแนวโน้มในระยะยาว หรือสิ่งที่น่าสนใจ

150

151 ขั้นตอนในการใช้เทคนิควิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
การสัมภาษณ์ผู้บริหารและรวบรวมข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆ การกำหนดเป้าหมายของการรวบรวมปัจจัยแห่งความสำเร็จ ดัชนีบ่งชี้ของการบรรลุปัจจัยแห่งความสำเร็จ กำหนดลำดับความสำคัญของโครงการ กำหนดข้อมูลและระบบงานที่ต้องการ กำหนดโครงการสารสนเทศที่ต้องการ

152 ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการวางแผนไอที
CSF ผู้บริหาร A CSF ผู้บริหาร B CSF ผู้บริหาร C การวิเคราะห์ CSF ที่สำคัญแต่ละชนิดและผลรวมในการพัฒนา CSF โดยรวม การกำหนด CSF ที่สำคัญสำหรับระบบสารสนเทศ การกำหนดลำดับความสำคัญของโครงการ การกำหนดการวางแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ

153 Strategic Information Technology Planning – Methodologies Continued
Critical success factors (CSFs)

154 IT Planning — Information Technology Architectures Continued
End-user configurations (workstations): Centralized computing with the PC functioning as “dumb terminals” or “not smart” thin PCs. A single-user PC that is not connected to any other device. A single-user PC that is connected to other PCs or systems, using a telecommunications connections. Workgroup PCs connected to each other in a small P2P network. Distributed computing with many PCs fully connected by LANs via wireline or Wi-FI.

155 IT Planning — Planning Challenges
Information technology planning gets more complicated when several organizations are involved, as well as when we deal with multinational corporations. Planning for Interorganizational Systems (IOS) involving several organizations may be complex. Those involved with hundreds or even thousands of business partners is extremely difficult. IT planners in those cases should focus on groups of customers, suppliers, and partners IT Planning for Multinational Corporations face a complex legal, political, and social environment, which complicates corporate IT planning. Therefore, many multinational companies prefer to decentralize their IT planning and operations. Thus evolving into local systems.

156 IT Planning — Planning Challenges
Other Problems for IT Planning Cost, ROI justification Time-consuming process Obsolete methodologies Lack of qualified personnel Poor communication flow Minimal top management support

157

158 เทคโนโลยีสารสนเทศกับองค์กร
องค์กรสมัยใหม่ที่นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ ทำให่ลักษณะโครงสร้างและการดำเนินงานที่แตกต่างกับองค์กรแบบเดิม อย่างชัดเจนเช่น การติดต่อสื่อสารและการไหลเวียนของข้อมูลผ่านเครือข่าย สร้างความสะดวกและรวดเร็ว ถูกต้อง ไม่ซับซ้อน ทำให้ลดจำนวนงานลง จะเป็นโครงสร้างแบบแนวราบ ( Flat Structure) ระบบสารสนเทศมีประสิทธิภาพช่วยลดลำดับชั้นในการจัดการ และทำให้การควบคุมกว้างขึ้น

159 ระบบสื่อสารโทรคมนาคมที่ทันสมัย ทำให้บุคลากรทำงานคนละที่ ซึ่งจะลดการติดต่อสื่อสารแบบเผชิญหน้าโดยตรง จึงต้องอาศัยความเชื่อถือระหว่างองค์กรและบุคลากร ตลอดจนใช้อำนาจในการตัดสินใจ การประยุกต์ใช้ไอทีในองค์กร ส่งผลให้บุคลากรมีการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ดำเนินไปอย่างรวดเร็วและถูกต้อง การประยุกต์ใช้ไอทีในองค์กร ส่งผลให้มีการปรับองค์กรในการใช้อุปกรณ์สำนักงานและการสูญเสียทรัพยากรน้อยลงเช่นสำนักงานไร้กระดาษ

160 การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับกลยุทธ์
Scott Morton ได้กล่าวว่า เทคโนโลยีสารสนเทศสร้างแรงผลักดันที่มีต่อองค์กร 5 ประการดังนี้ เทคโนโลยี (Technology) บทบาทของคุณ ( Individuals and Roles ) โครงสร้าง ( Structure ) กระบวนการจัดการ ( Management Process) กลยุทธ์ ( Strategy)

161 ระดับของการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศเชิงกลยุทธ์
จำแนกออกเป็น 3 ระดับ อิสระต่อกัน ( Independent) ร่วมกำหนดนโยบาย (Policy Formulation) การกำหนดนโยบายร่วมกัน (Policy Execution)

162 ระบบสารสนเทศกับการธำรงรักษาความได้เปรียบทางธุรกิจในการแข่งขันมี 4 วิธีดังนี้
ดำเนินการก่อน (First Mover) เป็นผู้นำทางด้านเทคโนโลยี ( Technological Leadership) เสริมสร้างนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง (Continuous Innovation ) สร้างต้นทุนที่สูงในการเปลี่ยนแปลง ( Create High Switching Cost)

163 บทบาทของผู้บริหารที่มีต่อกลยุทธ์ด้านสารสนเทศขององค์กรดังต่อไปนี้
การผลิตและการดำเนินงาน ผู้บริหารต้องหาแนวทางในการประยุกต์ใช้ไอที ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรืองานบริการที่มีคุณภาพ ตลอดจนสนับสนุนโครงสร้างองค์กร ให้ทำงานร่วมกันในการใช้ทรัพยากร การติดต่อสื่อสาร การสื่อสารในปัจจุบันที่มีประสิทธิภาพเป็นสิ่งสำคัญในการดำเนินการทางธุรกิจ ผู้บริหารต้องสนับสนุนการนำไอทีมาใช้ในการสื่อสารทั้งภายในและภายนอกองค์กร

164 กระบวนการ การนำไอที่มาประยุกต์ใช้ในองค์กรทำให้ต้องมีการปรับกระบวนการทำงานเพื่อให้ลดขั้นตอนการทำงานที่ล้าสมัย และเพื่อให้องค์กรทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ได้เปรียบในการแข่งขัน การวางแผน ความสำเร็จของการใช้ไอทีเกิดจากการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ให้สอดคล้องกับสถานการณ์และกลยุทธ์ขององค์กร ในส่วนนี้ต้องอาศัยการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง และต้องสร้างความกลมเกลียวระหว่างไอที องค์กร และกลยุทธ์


ดาวน์โหลด ppt INT1005 เทคโนโลยีสารสนเทศกับการวางแผนกลยุทธ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google