งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รายงานความก้าวหน้า การวิเคราะห์ศักยภาพลมบริเวณอำเภอปากพนังและอำเภอเชียรใหญ่ ของจังหวัดนครศรีธรรมราชด้วยแบบจำลองพลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณและข้อมูลอินพุทจากการวัดแบบทวิ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รายงานความก้าวหน้า การวิเคราะห์ศักยภาพลมบริเวณอำเภอปากพนังและอำเภอเชียรใหญ่ ของจังหวัดนครศรีธรรมราชด้วยแบบจำลองพลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณและข้อมูลอินพุทจากการวัดแบบทวิ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รายงานความก้าวหน้า การวิเคราะห์ศักยภาพลมบริเวณอำเภอปากพนังและอำเภอเชียรใหญ่ ของจังหวัดนครศรีธรรมราชด้วยแบบจำลองพลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณและข้อมูลอินพุทจากการวัดแบบทวิ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ผศ.ดร.จอมภพ แววศักดิ์ โดย นายสมพล ชีวมงคลกานต์ รหัส

2 หัวข้อนำเสนอ บทนำ วัตถุประสงค์ ขอบเขตของการวิจัย การดำเนินการ 1 2 3 4
N S E W

3 บทนำ โครงการวิจัย “การวิเคราะห์ศักยภาพลมบริเวณอำเภอปากพนังและอำเภอเชียรใหญ่ ของจังหวัดนครศรีธรรมราชด้วยแบบจำลองพลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณและข้อมูลอินพุทจากการวัดแบบทวิ” ได้ดำเนินการติดตั้งสถานีวัดลมจำนวน 2 สถานี ตำบลปากแพรก อำเภอปากพนัง ตำบลเสือหึง อำเภอเชียรใหญ่

4 บทนำ ต.ปากแพรก อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช
ต.เสือหึง อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช N S E W

5 วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินศักยภาพของพลังงานลมเฉพาะพื้นที่บริเวณอำเภอปากพนังและอำเภอเชียรใหญ่ของจังหวัดนครศรีธรรมราชโดยใช้แบบจำลองพลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณ (Computational Fluid Dynamics, CFD) 1 2 เพื่อจัดทำแผนที่ลมในระดับจุลภาคด้วยแบบจำลองพลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณและข้อมูลลมอินพุทแบบทวิ เพื่อวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโรงไฟฟ้าฟาร์มกังหันลมในรูปแบบของ VSPP ในพื้นที่อำเภอปากพนังและอำเภอเชียรใหญ่ของจังหวัดนครศรีธรรมราช 3

6 ขอบเขตการวิจัย 1 ศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับพลังงานลมและกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้า บันทึกและจัดเก็บข้อมูลระยะยาวอย่างน้อย 1 ปี จากเดือนมกราคม-ธันวาคม พ.ศ จากสถานีวิจัยพลังงานลม 2 สถานี (อำเภอปากพนังและอำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช) 2 3 วิเคราะห์ข้อมูลลมสถิติ การแจกแจงความถี่โดยใช้การแจกแจงแบบไวล์บุลล์ ผังลม (Wind Rose) ลักษณะทางสถิติของลม รวมทั้งความหนาแน่นกำลัง (Power Density) ของลมที่เปลี่ยนแปลงตามระดับความสูง

7 ขอบเขตการวิจัย จัดทำแผนที่ลมระดับจุลภาคโดยใช้พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณ (Computational Fluid Dynamics, CFD) ร่วมกับข้อมูลลมอินพุทแบบทวิเพื่อวิเคราะห์ศักยภาพของลมในระดับไมโครสเกล 4 วิเคราะห์ทางด้านเทคนิคและเศรษฐศาสตร์ของการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลมในรูปแบบของ VSPP ในบริเวณอำเภอปากพนังและอำเภอเชียรใหญ่ของจังหวัดนครศรีธรรมราช 5 วิเคราะห์ความเหมาะสมสำหรับการติดตั้งโรงไฟฟ้าฟาร์มกังหันลมบนพื้นที่อำเภอปากพนังและอำเภอเชียรใหญ่จังหวัดนครศรีธรรมราช 6

8 การดำเนินการ ความเร็วและทิศทางลม.wws

9 การดำเนินการ Turrain.xyz สถานีวัดลมปากแพรก อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช
สถานีวัดลมเสือหึง อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช สถานีวัดลมปากแพรก อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช สถานีวัดลมเสือหึง อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช N S E W

10 การดำเนินการ Landcover.xyz สถานีวัดลมปากแพรก อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช
สถานีวัดลมเสือหึง อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช สถานีวัดลมปากแพรก อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช สถานีวัดลมเสือหึง อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช N S E W

11 การดำเนินการ Roughness.xyz สถานีวัดลมปากแพรก อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช
สถานีวัดลมเสือหึง อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช สถานีวัดลมปากแพรก อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช สถานีวัดลมเสือหึง อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช N S E W

12 การดำเนินการ

13 ภูมิประเทศ (Terrain) ขั้นตอนแรกในการตั้งค่าการจำลองสนามการไหลคือ การสร้างแบบจำลอง 3 มิติของพื้นที่ที่สนใจ ที่นี้จะกระทำในโมดูลภูมิประเทศ แต่ก่อนอื่น ข้อมูลพื้นฐานสำหรับแบบจำลอง 3 มิติที่จะต้องมีซึ่งชุดข้อมูล 2D คือข้อมูลระดับความสูงและความขรุขระในรูปแบบไฟล์.GWS

14 การดำเนินการ

15 การดำเนินการ

16 การดำเนินการ

17 การดำเนินการ

18 การดำเนินการ N S E W

19 การดำเนินการ N S E W

20 การดำเนินการ

21 การดำเนินการ

22 การดำเนินการ

23


ดาวน์โหลด ppt รายงานความก้าวหน้า การวิเคราะห์ศักยภาพลมบริเวณอำเภอปากพนังและอำเภอเชียรใหญ่ ของจังหวัดนครศรีธรรมราชด้วยแบบจำลองพลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณและข้อมูลอินพุทจากการวัดแบบทวิ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google