งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พลังงานในฐานะเป็นปัจจัยกำลังอำนาจแห่งชาติ รองปลัดกระทรวงพลังงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พลังงานในฐานะเป็นปัจจัยกำลังอำนาจแห่งชาติ รองปลัดกระทรวงพลังงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พลังงานในฐานะเป็นปัจจัยกำลังอำนาจแห่งชาติ รองปลัดกระทรวงพลังงาน
โดย นาย คุรุจิต นาครทรรพ รองปลัดกระทรวงพลังงาน 10 มกราคม 2550 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ

2 GDP ประเทศไทยที่ผ่านมา
ในปี 2549 มีค่า 7.1 ล้านล้านบาท Million Baht วิกฤตเศรษฐกิจ

3 สถานะด้านการเงินของประเทศไทย
ล้านบาท ประเทศไทยได้รับผลกระทบอย่างมากจากราคาน้ำมันที่สูงขึ้นเพราะเป็นประเทศที่ต้องนำเข้า

4 Energy Growth vs. GDP Growth
Energy Elasticity แกนขวา แกนซ้าย

5 การใช้ การผลิต การนำเข้าพลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น
หน่วย: เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน (1 บาร์เรล 159 ลิตร) 2545 2546 2547 2548 2549* การใช้ 1,282 1,351 1,450 1,520 1,557 การผลิต 631 671 676 743 770 การนำเข้า (สุทธิ) 797 868 988 980 974 การนำเข้า / การใช้ (%) 62 64 68 63  อัตราการเปลี่ยนแปลง (%)  6.6 5.4 7.3 4.5 2.4 6.2 6.3 0.7 9.6 3.7 8.9 13.8 -1.1 -0.7 GDP (%) 5.3 7.1 5.0 * เบื้องต้น

6 มูลค่าการนำเข้าพลังงาน
หน่วย: ล้านบาท การนำเข้า 2545 2546 2547 2548 2549* น้ำมันดิบ 286,953 346,057 486,627 644,933 749,785 น้ำมันสำเร็จรูป 25,817 30,735 41,533 55,680 55,842 ก๊าซธรรมชาติ 35,073 42,635 46,053 62,827 79,390 ถ่านหิน 7,872 9,370 12,275 15,422 18,809 ไฟฟ้า 4,474 4,159 5,659 7,114 8,413 รวม 360,189 432,956 592,148 785,976 912,240 * เบื้องต้น

7 สถานการณ์พลังงานประเทศไทย
การใช้เชิงพาณิชย์ ~ 50% เป็นไฟฟ้า –50% เป็นน้ำมัน ในปี 2549 ประเทศไทยใช้พลังงานมูลค่า ~ 1.12 ล้านล้านบาท Hydro 3% Coal 13% เชื้อเพลิง เชิงพาณิชย์ Natural Gas 35% Oil 49% 90% ต้องนำเข้า สำหรับการผลิตไฟฟ้า Industry 36% Agriculture 6% Transportation 37% การใช้แยกตามสาขาเศรษฐกิจ Res & Com 21%

8 Primary Energy Consumption Outlook
Unit: KBD Crude Oil Equivalent 3,650 2% CAGR 4.3% ’05-’20 0.88 GDP 10% CAGR 6% ’00-’05 1.2 GDP 4% New & Renewable Hydro 14% 1,965 Traditional Renewable Now let me show you the energy outlook for the future. First thing is we try to reduce the oil consumption for the next 15 years. The oil proportion will go down from 41% to 32%. At the same time, we want to substitute this portion with natural gas which is available in the Gulf of Thailand. The gas percentage will increase from 29% to 38%. Coal and hydro remain relatively similar. For the renewable energy, currently we are using around 16% in term of primary energy. But these are rather traditional style in the rural area utilizing things such as fuel woods, woodchip, and rice husk. This portion will be replaced by the New & Renewable energy systems such as Solar, Wind, Biomass, and so on. Coal/Lignite 38% 16% 2% Natural Gas 12% Imp. Domestic Import 29% Domestic Domestic Oil Imp. Domestic 32% Import 41%

9 Economist Intelligence Unit
Oil Price Forecast Forecast for 2006 Forecast for 2007 Company WTI Brent Dubai ABN Amro 65.95 65.50 61.06 59.25 58.50 54.06 Bank of America 67.95 66.96 62.52 55.00 53.50 49.06 Barclays Capital 69.20 68.60 64.16 76.60 75.30 70.86 BNP Paribas 67.30 59.80 57.80 53.36 Calyon 67.52 66.92 62.48 65.83 64.33 59.89 Citigroup 66.00 65.00 60.56 60.00 58.00 53.56 Deutsche Bank 67.25 66.10 61.66 62.00 61.00 56.56 Economist Intelligence Unit 70.81 69.33 64.89 70.88 69.25 64.81 Goldman Sachs 71.00 70.03 65.59 75.50 74.22 69.78 JP Morgan 67.39 67.05 62.61 64.05 63.05 58.61 Merrill Lynch 67.50 66.25 61.81 63.75 59.31 Morgan Stanley 68.30 63.86 65.60 61.16 Societe Generale 66.60 57.00 52.56 UBS 68.40 67.15 62.71 69.00 62.81 Avg. 67.94 67.06 62.62 64.75 63.47 60.0

10 การใช้น้ำมันสำเร็จรูปในประเทศไทย
Diesel Million Liter per Day Gasoline Gasohol

11 ประเด็นการนำเสนอ การบริหารจัดการพลังงานหลัก (1) ไฟฟ้า (2) ก๊าซธรรมชาติ
(1) ไฟฟ้า (2) ก๊าซธรรมชาติ (3) น้ำมัน 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน (1) NGV (2) Gasohol (3) Biodiesel 3. การส่งเสริมพลังงานทดแทนผลิตไฟฟ้า 4. การอนุรักษ์พลังงาน (1) ภาคขนส่ง (2) อุตสาหกรรม (3) ราชการ (4) ประชาชน

12 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก
(1) ไฟฟ้า ก๊าซธรรมชาติ น้ำมัน

13 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ไฟฟ้า
1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ไฟฟ้า เมกะวัตต์ (38,241 MW) 5.5 5.5 5.5 ปรับความต้องการไฟฟ้าใหม่เนื่องจากเศรษฐกิจชะลอตัวลง ความต้องการไฟฟ้าเพิ่มในอัตราลดลงจากแผนเดิม 1,593 MW ,285 MW 5.5 5.8 5.8 5.5 GDP 5.0 5.5 5.5 (35,956 MW) 5.0 5.0 5.3 5.0 5.5 5.5 5.0 5.2 5.0 GDP 4.8 ปี

14 ประเด็นนโยบายการผลิตไฟฟ้าในอนาคต
1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ไฟฟ้า ประเด็นนโยบายการผลิตไฟฟ้าในอนาคต ปี มีโรงไฟฟ้าใหม่  29,000 MW ซื้อจากต่างประเทศ 20 % ผลิตจากเชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติ 40 % ผลิตจากถ่านหินนำเข้า 40 %

15 รับซื้อไฟฟ้าจากลาว 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ไฟฟ้า รวม 2,847
1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ไฟฟ้า รับซื้อไฟฟ้าจากลาว ชื่อโรงไฟฟ้า COD กำลังการผลิต (เมกะวัตต์) พลังงานต่อปี (ล้านหน่วยต่อปี) 1. โครงการที่ลงนาม PPA และจ่ายไฟฟ้าแล้ว เทิน-หินบุน 2541 214 1,370 ห้วยเฮาะ 2542 126 570 2. โครงการที่ลงนาม PPA และอยู่ระหว่างก่อสร้าง น้ำเทิน 2 2552 920 5,636 น้ำงึม 2 2554 597 2,310 3. โครงการตกลงราคาแล้ว อยู่ระหว่างทำ MOU น้ำเทิน 1 2556 530 1,996 น้ำงึม 3 460 2,198 รวม 2,847 14,080 โครงการที่มีศักยภาพอื่นๆ : หงสาลิกไนต์ 1400 MW เทินหินบุนส่วนขยาย MW น้ำเงี๊ยบ 260 MW เซเปียนเซน้ำน้อย 390 MW

16 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ไฟฟ้า
1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ไฟฟ้า ความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านอื่นๆ พม่า ฮัจจี , MW จีนตอนใต้ (ตาม MOU) , MW กัมพูชา (ตาม MOU) ไม่ได้กำหนด MW

17 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ไฟฟ้า
1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ไฟฟ้า ค่า Ft ต.ค ม.ค. 50 ลด สต. ความต้องการใช้ลดลง ผลิตไฟฟ้าจากพลังน้ำเพิ่มขึ้น เพิ่มการใช้ก๊าซจาก แหล่งภูฮ่อมและพม่า ซื้อไฟฟ้าจาก BLCP (ถ่านหิน) เพิ่ม

18 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก
(2) ก๊าซธรรมชาติ

19 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ก๊าซธรรมชาติ
ขยายการใช้และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับก๊าซธรรมชาติ ความต้องการเพิ่มขึ้น ระยะสั้น ( ) 11% ระยะยาว ( ) 3% มุ่งขยายตลาดที่สร้างมูลค่าเพิ่มสูงสุดให้กับก๊าซธรรมชาติ อุตสาหกรรม (Cogeneration/ District Cooling) เชื้อเพลิงทดแทนภาคขนส่ง : NGV โรงแยกก๊าซฯ/ปิโตรเคมี ล้านลบ.ฟุต/วัน 6,900 Growth 6% ( ) 5,130 21% โรงแยกก๊าซฯ 21% 10% NGV 3,086 6% อุตสาหกรรม 17% 17% 11% 9% ไฟฟ้า 74% 62% 52% หมายเหตุ : 1. สมมติฐานตามร่าง PDP 2006 สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงของ New IPP (ปี ) ก๊าซฯ : ถ่านหิน : รับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน เท่ากับ 40/40/20 2. ประมาณการอาจเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์พลังงาน/เศรษฐกิจ

20 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ก๊าซธรรมชาติ
จัดหาก๊าซธรรมชาติอย่างเพียงพอ DCQ (ล้านลบ.ฟุต/วัน) จัดหาตามสัญญา ปัจจุบัน ,880 จัดหาเพิ่มเติมในประเทศ อ่าวไทย/เจดีเอ ~2,000 (รองรับท่อเส้นที่ 3) ศักยภาพการจัดหาในอนาคต LNG (5-10 ล้านตัน) ~700/1,400 A1 Natuna M7/M9 OCA รวม ~4,000 รวมทั้งสิ้น ~8,880 ล้านลบ.ฟุต/วัน 6,900 Growth 6% ( ) 5,130 31% LNG/Regional Gas 4% พม่า 19% 12% 3,095 38% ในประเทศแหล่งใหม่ 29% 28% ~2,600 72% ในประเทศแหล่งปัจจุบัน 39% 28% หมายเหตุ : ประมาณการจัดหาก๊าซธรรมชาติอาจเปลี่ยนแปลงตาม สถานการณ์พลังงาน/เศรษฐกิจ

21 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ก๊าซธรรมชาติ
LNG Receiving Terminal ขนาด : - เริ่มต้น 5 ล้านตัน/ปี (700 ล้าน ปี 2554 - อนาคตแผนขยาย 10 ล้านตัน/ปี (1,400 ล้าน ลบ.ฟุต/วัน) วางท่อบนบกเส้นที่ 4 1,300 ล้าน ลบ.ฟุต/วัน เชื่อมต่อ Terminal กับท่อปัจจุบัน/New IPP แผนสร้างมูลค่าเพิ่มจากความเย็นของ LNG/ท่าเรือ โรงแยกก๊าซฯ 7 และ 8 โรงไฟฟ้า/ปิโตรเคมี ที่ตั้งโครงการ : โครงการท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะ 2 LNG Ship LNG Jetty & Terminal LNG Storage Tank

22 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ก๊าซธรรมชาติ
ศักยภาพการพัฒนาโครงข่ายท่อส่งก๊าซฯ ภูมิภาค ขยายโครงข่ายระบบท่อส่งก๊าซฯ ระหว่างประเทศ รองรับความต้องการในประเทศในระยะยาว รองรับการเป็น Gas Hub นาทูน่า (อินโดนีเซีย) ~1,100 กม. (ชายแดนอินโดนีเซีย-ระยอง/ทับสะแก) A1, M7/M9 (พม่า) ~1,030 กม. OCA (พื้นที่คาบเกี่ยวไทย-กัมพูชา)

23 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ก๊าซธรรมชาติ
แผนขยายโครงข่ายระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ โครงข่ายปัจจุบัน (2,637 กม.) ตะวันออก ตะวันตก รวม Capacity , , ,520 (MMcfd) ท่อส่งก๊าซฯ ทรานส์ไทย-มาเลเซีย (363 กม.) Capacity (MMcfd) ,020 แผนขยายในอนาคต (1,705 กม.) ตะวันออก ตะวันตก รวม Capacity , ,900 (MMcfd) ความสามารถส่งก๊าซฯ สูงสุดรวม (4,705 กม.) ตะวันออก ตะวันตก รวม (MMcfd) , , ,440 โครงข่ายระบบท่อย่อย ปัจจุบัน แผนขยาย รวม (กม.) ,677

24 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก
(3) น้ำมัน

25 การใช้ การผลิต การนำเข้าพลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น
1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : น้ำมัน การใช้ การผลิต การนำเข้าพลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น หน่วย: เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน 2544 2545 2546 2547 2548 2549 (ม.ค.-ต.ค.) การใช้ 1,203 1,282 1,351 1,450 1,520 1,546 การผลิต 594 631 671 676 743 770 การนำเข้า (สุทธิ) 754 795 869 988 980 996 การนำเข้า / การใช้ (%) 63 62 64 68  อัตราการเปลี่ยนแปลง (%)  5.2 6.5 5.4 7.3 4.8 1.2 1.0 6.2 6.3 0.7 9.9 4.1 10.7 5.3 9.4 13.7 -0.9 -0.8 GDP (%) 2.1 6.7 6.4 4.5

26 สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิง ม.ค. – ต.ค. 2549
1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : น้ำมัน วิกฤติราคาน้ำมันแพง สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิง ม.ค. – ต.ค. 2549 พึ่งพาการนำเข้าน้ำมันสูง ถ่านหิน การจัดหาน้ำมันดิบ ม.ค. – ต.ค. 2549 ก๊าซธรรมชาติ ใช้วันละ 9 แสนบาร์เรล นำเข้าวันละ 8 แสนบาร์เรล หรือ 90% ต้องนำเข้า 82% จาก Middle East ไฟฟ้า - มีการพึ่งพาการนำเข้าน้ำมันจากต่างประเทศสูงถึง 48% น้ำมัน มูลค่านำเข้า(ล้านบาท) 2544 2545 2546 2547 2548 2549 (ม.ค. – ต.ค.) น้ำมันดิบ 284,373 286,953 346,057 486,627 644,933 649,387

27 ราคาน้ำมันดิบและน้ำมันสำเร็จรูป ปี 2549
1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : น้ำมัน วิกฤตราคาน้ำมัน : ผลกระทบการพึ่งพาการนำเข้า ขาดดุลการค้า กระทบอัตราแลกเปลี่ยน ต้นทุนสินค้า เงินเฟ้อ เศรษฐกิจชะลอตัว อัตราว่างงานเพิ่ม ความไม่สงบทางสังคม ราคาน้ำมันดิบและน้ำมันสำเร็จรูป ปี 2549 ข้อมูล ณ วันที่ 2 ตุลาคม 2549

28 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : น้ำมัน
บรรเทาปัญหาน้ำมันแพงเฉพาะกลุ่มอาชีพ (เริ่มตั้งแต่ 28 เม.ย.49) ลดเก็บเงินเข้ากองทุนฯ เป็นเงิน 1 บาท ลดเพิ่มให้เฉพาะกับกลุ่มอาชีพ ประมง 2 บาท ขนส่งและเกษตร 1 บาท เร่งส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน เป้าหมายปี 54 ใช้ NGV แทนร้อยละ 10 ใช้ Gasohol แทนร้อยละ 10 ใช้ Biodiesel แทนร้อยละ 10

29 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน
2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน (1) NGV (2) Gasohol Biodiesel

30 สมมติฐานการขยายจำนวนรถ
2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน : NGV สมมติฐานการขยายจำนวนรถ จำนวนรถสะสม 2554 Project Rational เบนซิน รถ NGV รถทั่วประเทศ รถเก๋ง Bi Fuel 108,000 3,000,000 4% ของรถทั่วประเทศ รถแท็กซี่ 50,000 80,000 63% ของรถแท็กซี่ทั่วประเทศ รถตุ๊กตุ๊ก 2,000 5,000 40% ของรถ รวมรถเบนซิน 160,000 3,085,000 ดีเซล รถ ขสมก. Dedicated 4,000 100% รถร่วม ขสมก. รถตู้ ขสมก. 600 6,000 60% ของรถทั่วประเทศ รถตู้ร่วม ขสมก. 3,000 รถบขส./ร่วม 9,000 56% ของรถทั่วประเทศ รถบรรทุก/หัวลาก 40,000 700,000 10% ของรถทั่วประเทศ DDF 30,000 รถกระบะ 3,300,000 0.15 % ของรถทั่วประเทศ รวมรถดีเซล 91,600 รวมทั้งหมด 251,600

31 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน : NGV การทดแทนเบนซินและดีเซล
การทดแทนเบนซินและดีเซล  ทดแทนการใช้น้ำมัน 2549 2550 2551 2552 2553 2554 เบนซิน ทดแทนการใช้ - เบนซิน ล้านลิตร/วัน 0.46 1.20 1.76 2.06 2.42 2.81 สัดส่วนการทดแทน - เบนซิน % 2% 6% 9% 10% 12% 14% ดีเซล ทดแทนการใช้ - ดีเซล 0.08 0.53 1.75 3.86 6.18 7.12 สัดส่วนการทดแทน - ดีเซล 0% 1% 4% 8% รวมทดแทนการใช้น้ำมัน 0.54 1.73 3.51 5.91 8.60 9.93 สัดส่วนการทดแทนน้ำมัน 5%

32 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน : NGV แผนขยายสถานีบริการ NGV 5 ปี
ภาค 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 Q1 Q2 Q3 Q4 กทม. - ปริมณฑล 44 2 1 9 24 181 212 253 277 285 ภาคกลาง 8 4 10 56 85 100 115 135 ภาคเหนือ - 15 22 28 35 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5 25 40 45 ภาคใต้ 13 20 จำนวนสถานีสะสม 52 61 71 116 270 350 425 480 520

33 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน : NGV
มาตรการภาษี ยกเว้นอากรนำเข้า : อุปกรณ์/ถัง ถึงสิ้นปี 51 : เครื่องยนต์ NGV ลดหย่อนภาษีสรรพสามิต : OEM จาก 30% เหลือ 20% : Retrofits จาก 30 % เหลือ 22 % ไม่เกิน 50,000 บาท ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI เงินทุนหมุนเวียน กองทุนอนุรักษ์ 2,000 ล้านบาท : เปลี่ยนเครื่องให้ - ขสมก. : วงเงิน 1,700 ล้านบาท จำนวน 1,477 คัน - บขส. : วงเงิน ล้านบาท จำนวน คัน ปตท. 5,000 ล้านบาท : ดัดแปลง/เปลี่ยนเครื่องให้ผู้ประกอบการขนส่งเอกชน

34 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน : NGV
มาตรการสนับสนุน เร่งผลักดันโครงการดัดแปลงรถTaxi LPG เป็นรถ NGV เร่งออกกฎบังคับให้รถแท็กซี่ใหม่+ตุ๊กตุ๊กใหม่ เป็น NGV เพิ่มน้ำหนักรถบรรทุกที่ใช้ NGV อีก 1 ตัน เช่นเดียวกับได้อนุญาตให้รถห้องเย็น อนุญาตให้รถขนส่ง NGV วิ่งได้ 24 ช.ม. จนกว่ามีระบบท่อรองรับ ออกระเบียบบังคับรถใหม่/รถเช่าของราชการ+รัฐวิสาหกิจต้องเป็น NGV ขยายโครงการรถ NGV ระยะ 2 โดยของบประมาณจากกองทุนอนุรักษ์ ปรับปรุงระเบียบ EIA ให้เอื้อต่อการวางท่อและปั๊ม NGV

35 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน : NGV
มาตรการเร่งขยายจำนวนรถบรรทุกและรถโดยสาร มุ่งไปยัง Fleet รถใหญ่และ Fleet Owner ยกเว้นภาษีนำเข้า Chassis with engine CKD รถบรรทุก/โดยสาร NGV เร่งดัดแปลงรถ ขสมก. 1,477 คัน และ บขส คัน ( กองทุนอนุรักษ์ฯ อนุมัติเงินให้แล้ว 2,000 ล้านบาท) เร่งจัดหารถโดยสาร ขสมก. ใหม่ 2,000 คัน ตามที่ ครม. อนุมัติแล้ว เร่งดัดแปลงรถโดยสาร ขสมก. / บขส. / รถร่วม ที่เหลืออีก 17,000 คัน ปตท.เร่งขยายสถานี NGV ในอู่ ขสมก และเส้นทางหลวงสายหลัก ขยายผลโครงการปรับเปลี่ยนเครื่องยนต์ NGV กลุ่ม TPI : รถบรรทุกปูนผง เจ้าของ Fleet รถบรรทุก/รถหัวลาก (บริษัท เอส ซี แคริเออร์, ฟินมอร์, นครสวรรค์ตั้งประเสริฐ)

36 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน
(2) น้ำมันแก๊สโซฮอล์

37 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน : แก๊สโซฮอล์
2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน : แก๊สโซฮอล์ ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการใช้แก๊สโซฮอล์ เอทานอล 1.0 ล้านลิตร / วัน เอทานอล 3.0 ล้านลิตร / วัน มติ ครม. 9 ธค. 46 48 47 49 50 51 52 53 54 Phase II Gasohol Mandate Phase I MTBE replacement รัฐสนันสนุนราคาขาย มี Spec. แก๊สโซฮอล์ 95 และ 91 ออกระเบียบให้หน่วยราชการ จัดซื้อรถใช้แก๊สโซฮอล์ได้ รถยนต์ราชการและรัฐวิสาหกิจให้ใช้แก๊สโซฮอล์ ทดสอบการใช้แก๊สโซฮอล์ในรถยนต์ระบบคาร์บิวเรเตอร์ - รถยนต์ราชการ/รัฐวิสาหกิจต้องใช้แก๊สโซฮอล์ และสถานีบริการของหน่วยราชการ/รัฐวิสาหกิจต้องจำหน่ายแก๊สโซฮอล์ - ตั้งสถานีบริการ 4,000 แห่ง และ มีการใช้แก๊สโซออล์วันละ 4.0 ล้านลิตร กำหนดนโยบายยกเลิกการใช้ MTBE ใน ULG 95 และใช้แก๊สโซฮอล์ 91 ในบางพื้นที่ มติ ครม. 18 พค. 47 มติ ครม. 19 เมย. 48

38 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน : แก๊สโซฮอล์
2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน : แก๊สโซฮอล์ สถานภาพปัจจุบัน นโยบาย มติ ครม. เมื่อ 17 พ.ค. 46 เห็นชอบให้ 1 ม.ค. 50 ยกเลิกเบนซิน 95 มติ กพช. เมื่อ 4 ก.ย. 49 เห็นชอบการเปิดเสรีโรงงานเอทานอล มติ กพช. เมื่อ 6 พ.ย. 49 เห็นชอบเลื่อนการยกเลิกเบนซิน 95 การใช้แก๊สโซฮอล์ ปัจจุบันใช้ Gasohol = 3.6 ล้านลิตร/วัน สถานีบริการ 3,466 แห่ง การผลิตเอทานอล ปัจจุบันมี 6 โรง รวมกำลังผลิต 855,000 ลิตร/วัน ผลิตได้จริง 705,000 ลิตร/วัน โรงงานจะเสร็จปี 50 อีก 8 โรง รวม 980,000 ลิตร/วัน กำลังผลิต ณ ธ.ค. 50 รวม 1,685,000 ลิตร/วัน - มันฯ : ,000 ลิตร/วัน - กากน้ำตาล : 1,425,000 ลิตร/วัน การกำหนดราคาเอทานอล คณะทำงานกำหนดราคาเอทานอล กำหนดราคาเอทานอล (อิงราคาตลาดโลก : บราซิล) + ค่าขนส่ง แทนการกำหนดราคาจากต้นทุนการผลิต INSERT TOP

39 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน : แก๊สโซฮอล์
2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน : แก๊สโซฮอล์ Demand & Supply ‘50 INSERT TOP มาตรการภาครัฐ จำหน่าย E10 ทั่วประเทศภายในปี 2554 สนับสนุนโดย BOI ยกเว้นภาษีสรรพสามิตและภาษีกองทุนน้ำมัน ส่งเสริมการตลาดโดยให้ราคาขายปลีกแก๊สโซฮอล์ถูกกว่าเบนซิน บาท/ลิตร การบังคับให้รถยนต์ราชการใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์ การประชาสัมพันธ์ ส่งเสริมการวิจัย

40 กิจกรรมที่ต้องดำเนินการต่อไป
ผู้รับผิดชอบ 1 ด้าน Supply 1.1 ติดตามการก่อสร้างโรงงานตามแผนบริษัทฯ พน. 1.2 เร่งรัดการออกประกาศของ กค. เรื่อง การขอจัดตั้งโรงงานผลิตเอทานอลเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงตามนโยบายเสรี ภายใน ก.พ. 50 กค. พน. กอ. 1.3 เผยแพร่ข้อมุลที่จำเป็นต่อการลงทุนของเอกชน และผู้ที่สนใจทางเวบไซต์ 1.4 ศึกษาวิจัยการผลิตเอทานอลจากพืชพลังงานชนิดอื่น เช่น ข้าวฟ่างหวาน พน. วท. 1.5 การเพิ่มผลผลิตต่อไร่ของอ้อยและมันสำปะหลัง กษ. 2 ด้าน Demand 2.1 PR การใช้แก๊สโซฮอล์ 95 และส่งเสริม 91 ตั้งแต่ไตรมาส 3 พน. 2.2 เพิ่มการขยายสถานีบริการน้ำมันแก๊สโซฮอล์ 95, 91 พน. บ.ค้าน้ำมัน 2.3 ส่งเสริมการส่งออกเอทานอลเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงตั้งแต่ปี 51 2.3.1 ภาครัฐช่วยหาตลาดส่งออกในระยะแรก และเจรจาลดภาษีนำเข้าเอทานอล พน. พณ. กต. 2.3.2 ศึกษาความพร้อมด้านการขนส่ง ต้นทุนค่าใช้จ่าย การส่งออกไปต่างประเทศ พน. คม.

41 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน
(3) ไบโอดีเซล

42 สถานการณ์ไบโอดีเซลปัจจุบัน
มาตรฐานไบโอดีเซลเชิงพาณิชย์ ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กําหนดลักษณะและคุณภาพของไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอสเตอรของกรดไขมัน พ.ศ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2549 การจัดหาวัตถุดิบ ส่งเสริมการขยายพื้นที่ปลูกปาล์ม ปี 2549 ขยายพื้นที่ปลูกปาล์มแล้ว 100,000 ไร่ (เป้า 0.72 ล้านไร่) นำปาล์มส่วนเกินจากการบริโภคมาผลิตเป็นไบโอดีเซล ต.ค. 49 CPO 170,017 ตัน การผลิตไบโอดีเซล ปัจจุบัน มี 3 โรงงาน กำลังผลิตรวม 590,000 ลิตร/วัน ผลิตไบโอดีเซลได้มาตรฐาน การจัดจำหน่ายและการใช้ ประกาศอัตราเงินส่งเข้ากองทุน B5 (14 ก.ย. 49) ราคาขายปลีก B5 ถูกกว่าน้ำมันดีเซล 0.50 บาท/ลิตร มีสถานีบริการ B5 รวม 290 สถานี ปตท. 110 สถานี บางจาก 180 สถานี (26 ธ.ค. 49) ยอดจำหน่าย B5 เดือนต.ค. 49: 3.4 ล้านลิตร INSERT TOP โรงงาน กำลังผลิต (ลิตร/วัน) ติดตั้ง ผลิตจริง 1. ไบโอเอ็นเนอร์ยีพลัส 10,000 2. น้ำมันพืชปทุม 80,000 30,000 3. เอไอ เอ็นเนอร์ยี 500,000 50,000 รวม 590,000 90,000

43 สถานการณ์ไบโอดีเซลในปัจจุบัน (2)
ราคาไบโอดีเซล 25.20 25.25 25.225 0.88 1.00 0.75 ราคา B100 : 26.10 บาท/ลิตร INSERT TOP

44 สถานการณ์ไบโอดีเซลในปัจจุบัน (3)
โรงงานผลิตไบโอดีเซล ณ ปัจจุบัน คุณภาพตามประกาศ ธพ.ฯ โรงงาน จังหวัด กำลังผลิต (ลิตร/วัน) ติดตั้ง ผลิตจริง 1. ไบโอเอ็นเนอร์ยีพลัส อยุธยา 10,000 2. น้ำมันพืชปทุม ปทุมธานี 80,000 30,000 3. เอไอ เอ็นเนอร์ยี สมุทรสาคร 500,000 50,000 รวม 590,000 90,000 ไบโอดีเซล 18.19 โรงงานผลิตไบโอดีเซลที่ขอ BOI จังหวัด กำลังผลิต (ลิตร/วัน) สุราษฎร์ธานี 200,000 ตรัง 150,000 อยุธยา 300,000 ฉะเชิงเทรา 500,000 สุราษฎร์ธานี (2) 400,000 เพชรบุรี 350,000 ชุมพร 120,000 ชุมพร (2) 360,000 รวม 2,380,000 โรงงานผลิตไบโอดีเซล ณ ปัจจุบัน อยู่ระหว่างพัฒนาคุณภาพตามประกาศ ธพ.ฯ โรงงาน จังหวัด กำลังผลิต (ลิตร/วัน) ติดตั้ง ผลิตจริง ซันเทคปาล์มออยล์ ปราจีนบุรี 500,000 300,000 2. สยามน้ำมันพืช สมุทรสาคร 120,000 35,000 3. ไทยไบโอดีเซลออยล์ กาญจนบุรี 200,000 30,000 4. ราชาไบโอดีเซล สุราษฎร์ธานี 5. สุขสมบูรณ์น้ำมันปาล์ม ชลบุรี 50,000 รวม 1,070,000 450,000 INSERT TOP

45 ไบโอดีเซลชุมชน สถานภาพปัจจุบัน 1 อำเภอ 1 ไบโอดีเซลชุมชน
มาตรฐานไบโอดีเซลชุมชน ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กําหนดลักษณะและคุณภาพของไบโอดีเซลสําหรับเครื่องยนตการเกษตร (ไบโอดีเซลชุมชน) พ.ศ. 2549 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 21 กรกฎาคม 2549 สถานภาพปัจจุบัน โครงการไบโอดีเซล 60 ชุมชน วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนนำวัตถุดิบในชุมชนเช่น น้ำมันพืชใช้แล้ว มาเพื่อผลิตไบโอดีเซลใช้ทดแทนน้ำมันดีเซลในกิจการของชุมชน และ เพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ให้กับชุมชนอื่นๆ ต่อไป บทบาท พพ. สำรวจ/คัดเลือกชุมชน จัดหาระบบผลิตไบโอดีเซลขนาด 100 ลิตร/วัน และฝึกอบรม บทบาทชุมชน เตรียมวัตถุดิบ/บุคลากร/สถานที่เพื่อรองรับระบบผลิต ดำเนินการผลิต ปัจจุบัน ติดตั้งแล้วเสร็จทั้ง 60 ชุมชน 1 อำเภอ 1 ไบโอดีเซลชุมชน พพ. สำรวจศักยภาพ/คัดเลือกชุมชน และสนับสนุด้านเทคนิค องค์กรปกครองท้องถิ่น จัดหาระบบผลิตไบโอดีเซล ชุมชน เตรียมวัตถุดิบ/บุคลากร/สถานที่เพื่อรองรับระบบผลิต และ ดำเนินการผลิต แล้วเสร็จ ธ.ค. 51 แผนการดำเนินการต่อไป ติดตาม พัฒนาและประเมินผลโครงการไบโอดีเซลชุมชน พัฒนาเครื่องต้นแบบการนำกลีเซอรีนมาใช้เป็นเชื้อเพลิงในชุมชน ทดสอบการใช้ไบโอดีเซลชุมชน 100 % กับเครื่องจักรกลการเกษตร INSERT TOP

46 18.19 ไบโอดีเซล การดำเนินงานต่อไป กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ
1. โครงการปลูกปาล์มน้ำมันทดแทนพลังงาน กษ., ธกส. 2. ส่งเสริมการผลิตไบโอดีเซลทั้งชุมชนและเชิงพาณิชย์ พพ., กอ. 3. พัฒนาคุณภาพไบโอดีเซลของไบโอดีเซลทั้งชุมชนและเชิงพาณิชย์ ในปัจจุบัน พน., วท. 4. พัฒนาเพื่อเพิ่มมูลค่ากลีเซอรีนและผลพลอยได้อื่นๆ จากการผลิตไบโอดีเซล พพ. 5. สร้างตลาดไบโอดีเซล เช่น ส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซลสัดส่วนไม่เกิน 5% (non – labelled) พน. 6. บริการข้อมูลที่ถูกต้อง แม่นยำและทันสมัย 7. วิจัย – พัฒนาพืชน้ำมันสำหรับเป็นวัตถุดิบผลิตไบโอดีเซล กษ. INSERT TOP ไบโอดีเซล 18.19

47 3. การส่งเสริมพลังงานทดแทนผลิตไฟฟ้า พลังงานทดแทนผลิตไฟฟ้า
3. การส่งเสริมพลังงานทดแทนผลิตไฟฟ้า พลังงานทดแทนผลิตไฟฟ้า

48 3. การส่งเสริมพลังงานทดแทนผลิตไฟฟ้า
3. การส่งเสริมพลังงานทดแทนผลิตไฟฟ้า ยุทธศาสตร์และมาตรการพลังงานทดแทน ’48-’54 เป้าหมายพลังงานทดแทน ผลงาน ปี ’46-’48 ล้านบาร์เรล 30,000 ล้านบาท 300 350 400 450 500 550 600 650 700 48 49 50 51 52 53 54 120,000 ล้านบาท 8% ของการใช้พลังงานทั้งหมด (53.4 ล้านบาร์เรล) 120,000 ล้านบาท 53,000 ล้านบาท 53,000 ล้านบาท 8% ของการใช้พลังงานทั้งหมด (53.4 ล้านบาร์เรล) เครื่องมือที่ใช้ แนวทางดำเนินงาน 1. มาตรการสนับสนุนค่าไฟฟ้า (Feed-in) พัฒนาและสาธิต เทคโนโลยี ร่วมมือและขยายผลกับ ภาคเอกชนการบูรณาการ กับหน่วยงานอื่น 2. สิทธิประโยชน์ทางภาษี 3. เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ 2. ส่งเสริมการใช้ 4. Carbon Credit

49 3. การส่งเสริมพลังงานทดแทนผลิตไฟฟ้า
3. การส่งเสริมพลังงานทดแทนผลิตไฟฟ้า ส่งเสริมการใช้ ไฟฟ้า (MW) ปัจจุบัน เป้าหมายปี 2554 ชีวมวล , ,800 ก๊าซชีวภาพ แสงอาทิตย์ น้ำ ลม ขยะ Total , ,241 มาตรการรับซื้อไฟฟ้า (Feed-in Tariff) กำหนดราคารับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนที่จูงใจแก่ผู้ลงทุน เช่น - ผลตอบแทนการลงทุนไม่ต่ำกว่า 11% - ระยะเวลาคืนทุน 7 ปี มาตรการสนับสนุนอื่นๆ ความร้อน (ktoe) ปัจจุบัน เป้าหมายปี 2554 ชีวมวล , ,660 ก๊าซชีวภาพ แสงอาทิตย์ Total , ,851 สิทธิประโยชน์ทางภาษี เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ ให้ BOI สูงสุดแก่ธุรกิจด้านพลังงานทดแทน Carbon Credit สร้างศูนย์องค์ความรู้ เชื้อเพลิง/เทคโนโลยี ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์-ชั่วโมง) ชีวมวล 0.30 พลังน้ำขนาดเล็ก ( กิโลวัตต์) 0.40 พลังน้ำขนาดเล็ก (< 50 กิโลวัตต์) 0.80 ขยะ 2.50 พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ 8.00 ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า สำหรับผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน <=10 MW -34-

50 เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน
4. การอนุรักษ์พลังงาน เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ภาคขนส่ง ภาคอุตสาหกรรม ภาคราชการ ภาคประชาชน

51 4. การอนุรักษ์พลังงาน : ภาคขนส่ง
ลดการเดินรถเที่ยวเปล่า (180 (2 ktoe) ส่งเสริม Depot ปรับปรุง ICD (1,500 (290 ktoe) ลดการขนส่งทางถนน ไปใช้ Main Line ทางรถไฟ+น้ำ ขนส่งสินค้า ณ ปี 2554 Logistics/Depot/ICD เป้าหมาย 1,680 ktoe @ ปัจจุบัน 292 ktoe Mass transit Incentive ขนส่งคน ใช้รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (1,504 (97 ktoe) ติดฉลากรถยนต์ มาตรการภาษี: รถเก่า ภาษีป้ายตามอายุ ยิ่งเก่า ยิ่งสูง รถใหม่ ภาษีสรรพสามิตตาม Fuel Consumption รถติดฉลาก ลดหย่อนภาษีเงินได้ ปรับปรุงระบบขนส่งมวลชน: รถโดยสารประจำทาง รถไฟ รถตู้ เรือด่วน เรือข้ามฟาก โดยต่อกับรถไฟฟ้า มีตั๋วต่อ Feeders Park & (0.5 ktoe) ปรับปรุงระบบจราจร (106 (18 ktoe) รณรงค์ Tune Up, ถ่ายน้ำมันเครื่อง Management เป้าหมาย 1,610 ktoe @ ปัจจุบัน 203 ktoe R&D ใช้เชื้อเพลิงอื่น ไม่มีมาตรการ มีมาตรการ ใช้ 36,203 ktoe ใช้ 30,835 ktoe Gasohol เป้าหมาย 30 ล้านลิตร/วัน หรือ 820 ktoe @ ปัจจุบัน 4 ล้านลิตร/วัน หรือ 108 ktoe Bio diesel เป้าหมาย 4 ล้านลิตร/วันหรือ 1,258 ktoe @ ปัจจุบัน 4,700 ลิตร/วัน หรือ 1.42 ktoe (ลดลง 5,368 ktoe) ใช้เชื้อเพลิงอื่น ลดใช้ 2,078 ktoe (ใช้เชื้อเพลิงอื่นแทน 8%) 3,290 ktoe (ลดใช้น้ำมันลง 9%)

52 ส่งเสริม Depot ปรับปรุง ICD (1,500 ktoe)

53 ภาคอุตสาหกรรมภาพรวมผลการดำเนินงาน 45-48
4. การอนุรักษ์พลังงาน : ภาคอุตสาหกรรม ภาคอุตสาหกรรมภาพรวมผลการดำเนินงาน 45-48 ktoe BaUs case Actual 1,312 ktoe/ปี ลดการใช้พลังงานภาคอุตฯและธุรกิจ : สามารถประหยัดพลังงานได้ 1,312 ktoe/ปี คิดเป็นเงิน 25,000 ล้านบาท/ปี* (จากการดำเนินการโดยตรง 7,700 ล้านบาท/ปี) การปฏิบัติตามกฏหมาย โรงงานควบคุม 2,510 แห่ง อาคารควบคุม 1,605 แห่ง การฝึกอบรม อบรม PRE สามัญ 6,000 คน อบรม PRE อาวุโส 250 คน อบรมหลักสูตรอื่นๆ 6,750 คน * 1 ktoe ประมาณ ล้านบาท

54 เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานปี 2548-2554
ktoe Energy Elasticity = Growth (Energy) Growth (GDP) 75,000 ล้านบาท/ปี EE 0.85 : 1 30,000 ล้านบาท/ปี EE 0.9 : 1 เป้าหมายเดิม ’46 จาก 1.2 : 1  1 : 1 New Challenge  : 1 ประหยัดพลังงานสะสม ‘48–‘51 เป็นมูลค่า 66,000 ล้านบาท ประหยัดพลังงานสะสม ‘48–‘54 เป็นมูลค่า 243,000 ล้านบาท กรอบการดำเนินงาน ศึกษา สาธิตและเผยแพร่เทคโนโลยีขั้นสูง High Tech. Process Improvement Energy Management มาตรการภาษี เงินหมุนเวียน ฝึกอบรม /ให้ความรู้ การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม ข้อมูล ข่าวสาร และประชาสัมพันธ์ กฏหมาย

55 รวมผลประหยัดจากการดำเนินการตรง
แผนงานปี 2550 มาตรการภาษี ศึกษา สาธิตและเผยแพร่เทคโนโลยีขั้นสูง เงินหมุนเวียน ดำเนินการลักษณะ Performance based ต่อเนื่อง วงเงิน 100 ล้านบาท ผลประหยัด 330 ล้านบาท/ปี ศึกษาและกำหนดวิธีการดำเนินงานที่ชัดเจนกับกรมสรรพากร หากเป็น Cost-based จะต้องปรับปรุง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และเพิ่มสิทธิประโยชน์ (เสนอ 2 เท่า)รวมถึงลดขั้นตอนการตรวจสอบผลประหยัด สาธิตเทคโนโลยีระดับสูง เช่น เครื่องฉีดพลาสติกประสิทธิภาพสูง Hybrid heating Slag foaming technology Innovative heat storage Coal water mixer ผลประหยัด 80 ล้านบาท/ปี ให้สินเชื่อเพิ่มเติมอีก 1,000 ล้านบาท ประหยัด 750 ล้านบาท/ปี กฏหมาย/ข้อบังคับ ฝึกอบรม /ให้ความรู้ กำกับและติดตามการดำเนินงานตามกฏหมาย เสนอแก้ไขกฎหมาย - แยกการกำกับอาคารของรัฐและเอกชนออกจากกัน - ออกมาตรฐานการจัดการพลังงานในโรงงาน/อาคาร - ปรับมาตรฐานการใช้พลังงานในอาคารให้เหมาะสำหรับอาคารแต่ละประเภท - ปรับการบังคับให้เหมาะสมกับขนาดของโรงงาน/อาคาร การบริหารจัดการพลังงานแบบมีส่วนร่วม อบรม 20,000 คน พัฒนาหลักสูตรต่างๆ พพ. พัฒนาหลักสูตรและให้เอกชนจัดอบรมโดยเก็บค่าใช้จ่ายจากผู้เข้ารับการอบรม อบรมครูวิทยาลัยเทคนิค 500 คน โรงงาน/อาคาร 330แห่ง ผลประหยัด 110 ล้านบาท/ปี รวมผลประหยัดจากการดำเนินการตรง 1,270 ล้านบาท/ปี

56 4. การอนุรักษ์พลังงาน : ส่วนราชการ
มติ 2548 มิติที่ 3 : ประเด็นเรื่องการประหยัดพลังงาน คณะรัฐมนตรี ในการประชุมเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2548 ให้ทุกหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจลดใช้พลังงานลงร้อยละ เทียบกับปริมาณการใช้ไฟฟ้าและน้ำมันเชื้อเพลิงของปีงบประมาณ 2546 กำหนดเป็นตัวชี้วัดผลงาน (Key Performance Index: KPI) ของทุกหน่วยงาน เริ่มจากปีงบประมาณ 2549 โดยสำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดเป็นตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานของทุกหน่วยงานราชการ ตัวชี้วัดที่ 9

57 ผลสรุปการลดใช้ไฟฟ้าและน้ำมัน
4. การอนุรักษ์พลังงาน : ส่วนราชการ ผลสรุปการลดใช้ไฟฟ้าและน้ำมัน ส่วนราชการ ส่วนจังหวัด สถาบันอุดมศึกษา การใช้ไฟฟ้า (รวม 154 กรม) (รวม 76 จังหวัด) (รวม 79 สถาบัน) ปี 2546 (1) 1,608 321 886 ล้านหน่วย ปี 2549 (2) 1,462 282 905 ผล (1)–(2) - 146 -38 +18 ลดลงร้อยละ -9.0 -12.11 +2.11 % - 365 -95 +45 ล้านบาท การใช้น้ำมัน ปี 2546 190 40 7 ล้านลิตร ปี 2549 149 38 13 ผล 46-49(1)–(2) - 40 - 2 +6 ลดลงร้อยละ -21.27 - 5.87 +84.59 -1,000 -50 +150 ล้านบาท

58 4. การอนุรักษ์พลังงาน : ภาคประชาชน (ใช้เชื้อเพลิงอื่นแทน 2%)
กำหนดมาตรฐานขั้นต่ำ 9 อุปกรณ์ (124 ktoe) ประกาศแล้ว 2 (7 ktoe) ติดฉลากประสิทธิภาพสูง 4 อุปกรณ์ (39 ktoe) ประกาศ 7 อุปกรณ์ @ (9 ktoe) อุปกรณ์ไฟฟ้า ณ ปี 2554 MEPs เป้าหมาย ktoe @ ปัจจุบัน 16 ktoe Labeling Behavior อุปกรณ์ความร้อน ส่งเสริมใช้เตาถ่านประสิทธิภาพสูง (308 ktoe) ติดฉลากเตา LPG ประสิทธิภาพสูง (9 ktoe) ประกาศใช้ปี 50 Design เป้าหมาย 308 ktoe @ ปัจจุบัน - ktoe R&D รณรงค์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประหยัดพลังงาน (204 ktoe) ผลจาก กำไร 2 (49 ktoe) สร้างจิตสำนึกด้านพลังงานให้กับชุมชน (ทำแล้ว 39 แห่ง) ออกแบบและสร้างบ้านประหยัดพลังงาน (มีต้นแบบแล้ว 23 หลัง) พฤติกรรม และอื่นๆ ไม่มีมาตรการ มีมาตรการ ใช้ 15,847 ktoe ใช้ 14,810 ktoe เป้าหมาย 204 ktoe @ ปัจจุบัน 49 ktoe (1,036 ktoe) พลังงานทดแทน ใช้เชื้อเพลิงอื่น Solar Home 3 แสนหลัง (5 ktoe) ติดตั้งครบแล้ว+Off Grid (5 ktoe) Biogas เล็ก 3,600 ระบบ (40 ktoe) ทำแล้ว 1,800 (20 ktoe) พลังน้ำ (20 (4 ktoe) Biomass (298 (4 ktoe) ลดใช้ เป้าหมาย 363 ktoe @ ปัจจุบัน 33 ktoe 363 ktoe (ใช้เชื้อเพลิงอื่นแทน 2%) 673 ktoe (ลดใช้พลังงาน 4%)

59 4. การอนุรักษ์พลังงาน : ภาคประชาชน
เป้าหมายกำหนดมาตรฐานวัสดุอุปกรณ์ด้านประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ปี พ.ศ. 50 51 52 53 54 ทบทวน ร่างกฎกระทรวง 14 ผลิตภัณฑ์ พัดลม / หม้อหุงข้าว / กระติกน้ำร้อน / บัลลาสต์แกนเหล็ก/อิเล็กทรอนิกส์ / เครื่องปรับอากาศ / ตู้เย็น / หลอด FL/CFL / โคมไฟฟ้า / มอเตอร์ / เครื่องทำน้ำอุ่น / รถยนต์นั่ง/รถบรรทุกส่วนบุคคล ติดฉลาก 5 ผลิตภัณฑ์ 1 ผลิตภัณฑ์ 1 ผลิตภัณฑ์ 2 ผลิตภัณฑ์ พัดลมโคจร / กระติกน้ำร้อน / เตาแก๊ส / อุปกรณ์ปรับความเร็วรอบ / อาคารและบ้าน นำเสนอ กพช.ประกาศกฎกระทรวง 6 ผลิตภัณฑ์ 6 ผลิตภัณฑ์ ทบทวนร่างกฎกระทรวงเสนอ กพช. กำหนดกฎกระทรวง, เสนอสมอ.กำหนดมาตรฐานขั้นต่ำ ปี 50 (10 ผลิตภัณฑ์) : เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนขนาดไม่เกิน วัตต์, ตู้เย็น, เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า, กระจกเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน, เครื่องทำน้ำเย็นสำหรับใช้ในการปรับอากาศ พัดลมไฟฟ้ากระแสสลับ, หม้อหุงข้าวไฟฟ้า, กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า, บัลลาสต์แกนเหล็กสำหรับหลอดฟลูออเรสเซนต์, บัลลาสต์อิเล็คทรอนิกส์ ปี 51 (5 ผลิตภัณฑ์) : มอเตอร์ไฟฟ้า อุปกรณ์ปรับความเร็วรอบมอเตอร์ เครื่องซักผ้า เครื่องอบผ้า ตู้แช่ เตาแก๊ส ปี 52 (5 ผลิตภัณฑ์) : หลอดไฟฟ้า ฉนวนใยแก้ว โคมไฟฟ้า เตารีดไฟฟ้า กาต้มน้ำร้อนไฟฟ้า ปี 53 (4 ผลิตภัณฑ์) : เตาไฟฟ้า เตาอบไมโครเวฟ เตาอบไฟฟ้า ปี 50 (5 ผลิตภัณฑ์) : ปี 51 (5 ผลิตภัณฑ์) : พัดลมไฟฟ้ากระแสสลับ หม้อหุงข้าวไฟฟ้า กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า บัลลาสต์แกนเหล็กสำหรับหลอดฟลูออเรสเซนต์ บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ ปี 52 (6 ผลิตภัณฑ์) : มอเตอร์ไฟฟ้า อุปกรณ์ปรับความเร็วรอบมอเตอร์ เครื่องซักผ้า เครื่องอบผ้า ตู้แช่ เตาแก๊ส ปี 53 (5 ผลิตภัณฑ์) : หลอดไฟฟ้า ฉนวนใยแก้ว โคมไฟฟ้า เตารีดไฟฟ้า กาต้มน้ำร้อนไฟฟ้า ปี 54 (3 ผลิตภัณฑ์) : เตาไฟฟ้า เตาอบไมโครเวฟ เตาอบไฟฟ้า กฎกระทรวง ปี 51 (5 ผลิตภัณฑ์) : เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนขนาดไม่เกิน วัตต์, ตู้เย็น, เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า, กระจกเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน, เครื่องทำน้ำเย็นสำหรับใช้ในการปรับอากาศ ปี 52 (5 ผลิตภัณฑ์) : พัดลมไฟฟ้ากระแสสลับ หม้อหุงข้าวไฟฟ้า กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า บัลลาสต์แกนเหล็กสำหรับหลอดฟลูออเรสเซนต์ บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ ปี 53 (6 ผลิตภัณฑ์) : มอเตอร์ไฟฟ้า อุปกรณ์ปรับความเร็วรอบมอเตอร์ เครื่องซักผ้า เครื่องอบผ้า ตู้แช่ เตาแก๊ส ปี 54 (5 ผลิตภัณฑ์) : หลอดไฟฟ้า ฉนวนใยแก้ว โคมไฟฟ้า เตารีดไฟฟ้า กาต้มน้ำร้อนไฟฟ้า เครื่องปรับอากาศ / บัลลาสต์แกนเหล็ก+อิเล็กทรอนิกส์ / หลอด CFL / มอเตอร์ / เครื่องทำน้ำอุ่น สมอ. ประกาศ ค่าประสิทธิภาพพลังงานขั้นต่ำ 5 ผลิตภัณฑ์ 4 ผลิตภัณฑ์ บัลลาสต์แกนเหล็ก +อิเล็กทรอนิกส์ / หลอด CFL / เครื่องทำน้ำอุ่น / มอเตอร์

60 ขอบคุณครับ จาก กระทรวงพลังงาน

61 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ไฟฟ้า
1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ไฟฟ้า กระจายแหล่งเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า หมายเหตุ : ข้อมูลใน 4 ปีแรกจะเปลี่ยนแปลงได้ตามแผนปฎิบัติการระยะสั้น

62 แผนขยายการใช้ก๊าซธรรมชาติในภาคอุตสาหกรรม
เพื่อลดการนำเข้าและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ความต้องการก๊าซฯ จำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ขยายตลาดก๊าซฯ ในภาคอุตสาหกรรม Cogen 3% อื่นๆ 8% รถยนต์ 1% หน่วย : พันบาร์เรล/วัน เซรามิค 13% 725 วัสดุก่อสร้าง 3% Growth 6% 22% โลหะ/แก้ว 23% โรงกลั่น 31% 22% 453 พลังงานหมุนเวียน 21% ปิโตรเคมี 18% 24% 21% ไฟฟ้า 26% 21% 26% ถ่านหิน/ลิกไนต์ จำนวนลูกค้าอุตสาหกรรม ณ ปี ราย 31% 15% 17% น้ามัน 16% การขยายการใช้ก๊าซฯ ในรูปแบบ Cogeneration 9% ก๊าซธรรมชาติ 15% 17% ปี 2549 2554 2558 ความต้องการก๊าซฯ (ล้าน ลบ.ฟุต/วัน) 275 555 735 ปริมาณทดแทนน้ำมันเตา (ล้านลิตร/ปี) 2,550 5,100 6,800 มูลค่าทดแทนน้ำมันเตา (ล้านบาท/ปี) 41,650 84,000 111,300 หน่วย : MW สะสม

63 สร้างมูลค่าเพิ่ม – ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี/ส่งออก LPG
GSP Expansion อุตสาหกรรมปิโตรเคมีระยะที่ 3 ( ) Gas Based Olefins/ Liquid Based Aromatics หน่วย : ล้าน ลบ. ฟุต/วัน GSP 7 GSP 8 GSP 6 Ethane Plant GSP 7+8 CAGR 9% เพิ่มความสามารถในการแข่งขัน โดยการเชื่อมโยงสายการผลิต/การพัฒนาเป็นกลุ่ม (Unit Integration/Cluster) เงินลงทุน ~469 พันล้านบาท/ปี ปี 2561 ~288 พันล้านบาท/ปี ขยายกำลังการผลิต สาย Olefins Olefins ล้านตัน/ปี Derivatives 5.6 ล้านตัน/ปี รวม 19 ผลิตภัณฑ์ สาย Aromatics Aromatics ล้านตัน/ปี Derivatives 6.1 ล้านตัน/ปี รวม 22 ผลิตภัณฑ์ GSP 6 Ethane Plant GSP 1-5 LPG/Ethane Production หน่วย : พันตัน/ปี 4,900 4,900 3,640 3,570 2,535 2,535 2,200 LPG 990 Ethane

64 แผนขยายระบบท่อย่อยส่งเสริมการใช้ก๊าซฯ ในภาคอุตสาหกรรม/ขนส่ง
ขยายท่อก๊าซฯ ในเมือง (City Gas) สุวรรณภูมิ – พญาไท – รังสิต (55 กม.) ไทรน้อย – สุขสวัสดิ์ (12 กม.) ไทรน้อย – ศิริราช (15 กม.) BV # 11 – บางจาก (7 กม.) ขยายสู่นิคม/เขตอุตสาหกรรมในภูมิภาค ภาคกลาง อยุธยา (อ. นครหลวง) สมุทรสาคร (อ. กระทุ่มแบน) ปราจีนบุรี (นิคมฯ Gateway, เครือสหพัฒน์) ภาคตะวันออก ระยอง (TPI) ภาคตะวันตก ราชบุรี (นิคมฯ ราชบุรี) ภาคใต้ สงขลา (นิคมฯ ฉลุง) Distribution network expansion will be the key of our success in penetrating the industrial sector. At present, our distribution networks locate mostly in the central area up to about 7 hundred kilometers in distance. In the next five years, PTT has planned to extend our distribution networks more than one thousand kilometers to cover industrial areas in as many provinces as possible rather than focusing in Bangkok and nearby provinces. Our distribution pipeline networks will be further expanded to cover many industrial zones in the central part, in the east, in the west, and in the south of Thailand. ปัจจุบัน อนาคต 777 กม ,677 กม. (ครอบคลุม 10 จว.) (ครอบคลุม 22 จว.)

65 แนวโน้มการใช้พลังงานหลักของโลก
ปี 2003 ถึง 2050 ความต้องการใช้พลังงานเพิ่มเป็น 2 เท่า ชนิดของพลังงานหลักยังคงเป็น ก๊าซธรรมชาติ น้ำมัน และถ่านหิน ซึ่งสะท้อนถึงเทคโนโลยีด้านพลังงานในอนาคต (source: IEA)

66 แนวโน้มการใช้พลังงานหลักของไทย
Ktoe ปี 2006 ถึง 2020 ความต้องการใช้พลังงานของไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ชนิดของพลังงานหลักยังคงเป็น ก๊าซธรรมชาติ น้ำมัน และถ่านหิน/ลิกไนท์ เช่นเดียวกับแนวโน้มการใช้พลังงานของโลก (source: EPPO)

67 สัดส่วนการใช้พลังงานขั้นต้น (ข้อมูล ม.ค.-ต.ค.49)
1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : น้ำมัน สัดส่วนการใช้พลังงานขั้นต้น (ข้อมูล ม.ค.-ต.ค.49) ประมาณการ การนำเข้าน้ำมันดิบ - มีการพึ่งพาการนำเข้าน้ำมันจากต่างประเทศสูงถึง 48%

68 ผู้ผลิตเอทานอลในปัจจุบัน ณ มกราคม 2549
2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน : แก๊สโซฮอล์ ผู้ผลิตเอทานอลในปัจจุบัน ณ มกราคม 2549 ผู้ประกอบการ จังหวัด วัตถุดิบ กำลังผลิตติดตั้ง ปริมาณผลิตจริงเฉลี่ย 1 บริษัท พรวิไล อินเตอร์เนชั่นแนลฯ อยุธยา กากน้ำตาล 25,000 2 บมจ. ไทยแอลกอฮอล์ นครปฐม 200,000 3 บริษัท ไทยอะโกรเอนเนอร์จี จำกัด สุพรรณบุรี 150,000 4 บริษัท ไทยง้วน เอทานอล จำกัด ขอนแก่น มันฯ 130,000 50,000 5 บริษัท ขอนแก่นแอลกอฮอล์ จำกัด 6 บริษัท เพโทรกรีน จำกัด ชัยภูมิ รวมกำลังผลิตทั้งหมด 855,000 705,000

69 ผู้ประกอบการที่จะก่อสร้างโรงงานแล้วเสร็จในปี 2550
2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน : แก๊สโซฮอล์ ผู้ประกอบการที่จะก่อสร้างโรงงานแล้วเสร็จในปี 2550 ผู้ประกอบการ จังหวัด วัตถุดิบ กำลังผลิตติดตั้ง (ลิตร/วัน) เริ่มผลิต 1 บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล แก๊สโซฮอล์ฯ ระยอง มันสำปะหลัง 150,000 ม.ค. 50 2 บริษัท ฟ้าขวัญทิพย์ จำกัด ปราจีนบุรี 60,000 ก.พ. 50 3 บริษัท เอกรัฐพัฒนา จำกัด นครสวรรค์ กากน้ำตาล 100,000 4 บริษัท น้ำตาลไทย เอทานอล จำกัด กาญจนบุรี 5 บริษัท เคไอเอทานอล จำกัด นครราชสีมา พ.ค. 50 6 บริษัท ราชบุรีเอทานอล จำกัด ราชบุรี มันฯ/กากน้ำตาล พ.ย. 50 7 บริษัท ไทยรุ่งเรืองพลังงาน จำกัด สระบุรี กากน้ำตาล/ชานอ้อย 120,000 ธ.ค. 50 8 บริษัท เพโทรกรีน จำกัด กาฬสินธุ์ 200,000 รวมกำลังผลิตติดตั้ง 980,000


ดาวน์โหลด ppt พลังงานในฐานะเป็นปัจจัยกำลังอำนาจแห่งชาติ รองปลัดกระทรวงพลังงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google