งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในฐานะเป็นปัจจัยกำลังอำนาจแห่งชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในฐานะเป็นปัจจัยกำลังอำนาจแห่งชาติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในฐานะเป็นปัจจัยกำลังอำนาจแห่งชาติ
โดย นงลักษณ์ ปานเกิดดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย

2 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นปัจจัยสนับสนุนและส่งเสริม
เศรษฐกิจ สังคมและจิตวิทยา การเมือง การทหาร / ความมั่นคงของชาติ

3 ระดับขั้นของการพัฒนาขีดความสามารถทางเทคโนโลยี
เศรษฐกิจ R&D Intensive Technology Intensive Skill Intensive Labor Intensive ระดับขั้นของการพัฒนาขีดความสามารถทางเทคโนโลยี

4 สังคมและจิตวิทยา

5 การเมือง

6 ทหาร/ความมั่นคง

7

8 ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

9

10 Overall Ranking แยกตาม Factor ของประเทศไทย
ระหว่างปี 2002 2003 2004 2005 2006

11 Overall Ranking ด้าน Infrastructure
แยกตาม Factor ของประเทศไทย ระหว่างปี 2002 2003 2004 2005 2006

12 ความสำคัญและความต้องการเทคโนโลยี ? “ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้”
(Knowledge Economy )

13 ดัชนีวัดระดับเศรษฐกิจฐานความรู้ ( Knowledge Economy Index KEI ) ของกลุ่มประเทศ East Asia
2538 2545 กลุ่มประเทศ East Asia จีน ฮ่องกง อินโดนีเซีย เกาหลี มาเลเซีย มองโกเลีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไต้หวัน ไทย เวียดนาม 4.33 2.67 7.20 2.34 5.87 4.79 2.95 2.99 7.47 6.37 4.26 1.49 4.65 3.15 8.14 2.72 5.80 4.78 3.20 3.70 7.69 6.67 2.37 ตัวแปร : สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจที่เอื้อต่อการประกอบธุรกิจ นวัตกรรม การศึกษา และโครงสร้างพื้นฐานของข้อมูลเชิงกลุ่ม

14 องค์ประกอบหลักของ Knowledge Economy Index
ของประเทศไทย

15 ดัชนีด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอื่นๆ
2.92 6,675 34,052 เกาหลี 0.43 416 28 มาเลเซีย 0.32 9,217 408 อินเดีย 0.75 11,675 3,742 จีน 0.33 470 65 ไทย 0.21 NA ฟิลิปปินส์ 4.77 5,655 20,094 ไต้หวัน 163,526 83,090 สหรัฐอเมริกา 7.07 47,826 123,978 ญี่ปุ่น R&D Personnel (ต่อ 1000คน) จำนวน Publication จำนวนสิทธิบัตร ประเทศ Source : IMD ( 2003 )

16 ดุลการชำระเงินทางเทคโนโลยี ประกอบด้วย
การซื้อขายสิทธิ/สิ่งประดิษฐ์ ค่ารอยัลตี้ ค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ใช้สิทธิบัตร สัญญาการเปิดเผยความรู้ การซื้อขายเฟรนไชน์ เครื่องหมายการค้า การออกแบบทางอุตสาหกรรม ค่าที่ปรึกษา ค่าความช่วยเหลือทางเทคนิค ค่าบริการความรู้ทางเทคนิค การวิจัยและพัฒนาของภาคอุตสาหกรรมที่ดำเนินการในต่างประเทศหรือได้รับการสนับสนุนจากต่างประเทศ

17 ดุลการชำระเงินทางเทคโนโลยีของไทย จำแนกตามประเภท : รายรับรายจ่าย ปี 2542-2546
ปี 2543 ปี 2544 ปี 2545 ปี 2546 รายรับ รายจ่าย รายรับ รายจ่าย รายรับ รายจ่าย รายรับ รายจ่าย รายรับ รายจ่าย ดุลการชำระเงิน ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย

18 ดุลการชำระเงินทางเทคโนโลยีคิดเป็นสัดส่วนต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ปี 2544
รายจ่าย ดุลการชำระเงิน รายรับ อังกฤษ สวิสเซอร์แลนด์ เบลเยี่ยม-ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก (2542) สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น (2543) ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส ออสเตรีย (2543) อิตาลี สเปน (2541) เยอรมัน เกาหลี (2542) ไทย (2546)* ไทย * ไอร์แลนด์ 1.15 1.32 2.45 0.95 0.39 0.21 0.47 0.24 1.29 0.25 0.03 0.75 0.05 0.52 0.55 0.33 0.55 0.79 1.95 0.61 0.16 0.09 0.43 0.21 1.29 0.32 0.17 1.11 0.66 2.34 2.49 8.49 0.60 0.53 0.50 0.34 0.23 0.12 0.04 0.03 0.00 -0.07 -0.14 -0.36 -0.61 -1.82 -1.94 -8.16 ที่มา : OECD, STI Scoreboard 2003, TBP database, May 2003, Table C * ธนาคารแห่งประเทศไทย

19 R&D Expenditure National R&D Expenditure Million in USD National R&D
(Year 2003) National R&D Expenditure Million in USD National R&D Expenditure/GDP % United States Japan China Germany France United Kingdom S.Korea Canada Taiwan Sweden Israel Finland Singapore Thailand 284,584 114,009 84,618 57,065 37,514 33,579 24,379 19,327 13,668 10,364 6,611 5,186 2,239 387.48 2.60 3.15 1.31 2.50 2.19 1.89 2.64 1.87 2.45 3.98 4.93 3.49 2.13 0.25 Source : OECD. Main Science and Technology Indicators. May 2005

20 การพัฒนาเศรษฐกิจโลก : ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี
Economy Agriculture Industrial Information Molecular Energy Muscle Power Coal, Oil, electricity Chemical(e.g. batteries, solar, piezoelectrical) Molecular(e.g. ATP) Physical Delivery Animals, boats Trains, automobiles Planes Distributed fabrication Information Delivery Human contact Mail, telegraph, telephone, radio, television Wired and wireless data networks Neural interface? Information Delivery Seeds, land, textiles Steel, chemicals Silicon, software Nanomaterials Designs Key Product Domesticated plant and animals Automobile Computer Matter compiler? Personal hospital? Universal mentor? Experience machine? Social science simulator? ที่มา : IT’S ALIVE (Christopher Meyer & Stan Davis, 2003)

21 โครงสร้างเศรษฐกิจ : เปลี่ยนแปลงจากภาคเกษตร สู่ภาคบริการ
โครงสร้างเศรษฐกิจ : เปลี่ยนแปลงจากภาคเกษตร สู่ภาคบริการ

22 Global Market Share for Taiwan’s ICT Products
Made outside Taiwan Made by Taiwan World Market Share (units) Made in Taiwan 2003 2004 Source:IEK/ITRI(2005/05)

23 Efficient Mass Production Novel Products/ Systems/ Services
Value Chain Transition in Taiwan OEM ODM Brand name Products Total Systems & Service Efficient Mass Production Novel Products/ Systems/ Services

24 Snapshots of Korea Industry in 2006
Information Technology (IT) Cell Phones WiBro (Wireless Broadband) $78 billion export in 2006 Flat Panel Display TFT-LCD TV PDP Heavy and Chemical Industry

25 Technology Market Scan
Nanotech IC forecasts by geographical region trends 2009 $ Billion 2014 $ 172 Billion Sourec: FTM Consulting, Inc.

26 การพัฒนาด้านเทคโนโลยี
Core Technology Genetics & Biotechnology Material Technology & Nanotechnology Information and Communication Technology

27 Battelle-Technology Forecasts Strategic Technologies 2020
1. Genetic-based Medical and Health Care

28 2. High-power energy packages
3. GrinTech (Green Integrated Technology) 4. Omnipresent Computing 5. Nanomachines

29 6. Personalized Public Transportation
7. Designer Foods and Crops 8. Intelligent Goods and Appliances 9. Worldwide Inexpensive and Safe Water 10. Super senses

30 Battelle – Technology Farecasts
The Top Ten Innovations in National Security and Defense by 2012 1. Information and Intelligence Management 2. Renewable Energy Sources 3. Non-Lethal Weapons 4. Advanced Detection and Tracking System 5. Universal Inoculation

31 Battelle Panel’s Top Ten Innovation for the War on Terros
1. Forward-Looking Intelligence 2. Biological and Chemical Sensors 3. Non-Innosive and Non-Destructive Imaging 4. Non-Letthal Directed Energy 5. Comprehensive Space, Air, Land, and Sea Monitoring

32 6. The Global Cyber Net 7. Individual Warning Devices 8. Rapid Deployment and Mobility 9. Safe Buildding 10. Advanced Multi Function Materials

33 Battelle Panel’s Top Ten Innovation for the War on Terros
6. 21st Century Public Diplomacy 7. Electronic Tracking of Money 8. Distributed Forces and on Interlooking Network 9. Encouraging Public Awareness and Self-Identification of Terrorisb 10. Technologies to Neutralize Explosive chemicals

34 การขับเคลื่อนประเทศไทยไปสู่ระบบเศรษฐกิจ/สังคมฐานความรู้ (KBE/S)
ต้องการระบบบริหารจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพ ภาครัฐ เพิ่มประสิทธิภาพ/ บริการ ภาคเศรษฐกิจ เพิ่มผลิตภาพ/ นวัตกรรม ภาคสังคม เพิ่มคุณภาพชีวิต เป้าหมาย

35 การพัฒนาระบบบริหารจัดการความรู้
ระบบการสร้าง และจัดหาความรู้ (knowledge Creation) ระบบการสร้าง มุลค่า/คุณค่า (value creation) ระบบ แพร่กระจาย ความรู้ (knowledge Diffusion) เพิ่มผลิตภาพ/ สร้างนวัตกรรม Stock of Knowledge สู่ภาคเศรษฐกิจ/ สังคม/ชุมชน การเติมโตของ GDP สังคม/ชุมชน เข้มแข็ง วิจัยเอง จัดหาจากภายนอก

36 คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
อำนาจหน้าที่ เสนอแนะและให้ความเห็นเกี่ยวกับนโยบายและแผนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศต่อคณะรัฐมนตรี ประสานงานกับหน่วยงานของรัฐ ภาคเอกชนและองค์กรประชาชนที่เกี่ยวข้องในด้านการจัดทำนโยบาย และแผนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศ และในด้านการปฏิบัติงานตามนโยบายและแผน ติดตามความก้าวหน้าและผลการปฏิบัติงานของการดำเนินงานตามนโยบายและแผนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระดับชาติ และระดับกระทรวง ทบวง กรม ที่เกี่ยวข้องเพื่อเสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรี เร่งรัด ส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนาขีดความสามารถทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในภาคการผลิต โดยเฉพาะภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ

37 เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกำหนดมาตรการระยะเร่งด่วน ระยะกลาง และระยะยาวเพื่อแก้ไขปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเฉพาะด้านการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การถ่ายทอดเทคโนโลยีและโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับกรอบงบประมาณของประเทศในการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตามนโยบายและแผนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เสนอความเห็นต่อนายกรัฐมนตรีในกิจการอันเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อปฏิบัติงานตามระเบียบนี้ หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย ปฏิบัติการอื่นใดเพื่อให้เป็นไปตามระเบียบนี้หรือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย

38 วิสัยทัศน์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทย 2020
เศรษฐกิจพอเพียง/ แข่งขัน คุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อม ว & ท

39 แผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (2547-2556)
กลยุทธ์หลักที่ 1 พัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจ เศรษฐกิจชุมชน และคุณภาพ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางเทคโนโลยี กลยุทธ์หลักที่ 2 พัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้ตอบสนอง ความต้องการของภาคเศรษฐกิจและสังคม กลยุทธ์หลักที่ 3 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสถาบัน เพื่อกระตุ้นและสนับสนุน การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม กลยุทธ์หลักที่ 4 สร้างความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อให้เกิดแรงสนับสนุนจากสาธารณชนอย่างต่อเนื่อง กลยุทธ์หลักที่ 5 ปรับระบบการบริหารจัดการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้มีเอกภาพและประสิทธิภาพสูง

40 กรอบนโยบาย เป้าหมายระดับชาติที่ 1 : “ธุรกิจชีวภาพสมัยใหม่เกิดและพัฒนา”
การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศไทย เป้าหมายระดับชาติที่ 1 : “ธุรกิจชีวภาพสมัยใหม่เกิดและพัฒนา” เป้าหมายระดับชาติที่ 2 : “ใช้เทคโนโลยีชีวภาพช่วยให้ประเทศไทยเป็นครัวของโลก” เป้าหมายระดับชาติที่ 3 : “ประเทศไทยมีสังคมที่มีสุขภาพดีและเป็นศูนย์กลางสุขภาพ แห่งเอเชีย” เป้าหมายระดับชาติที่ 4 : “ใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมและผลิต พลังงานสะอาด” เป้าหมายระดับชาติที่ 5 : “ใช้เทคโนโลยีชีวภาพเป็นปัจจัยสำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง” เป้าหมายระดับชาติที่ 6 : “พัฒนาระบบการสร้างกำลังคนที่มีคุณภาพ”

41 โครงการสิบเทคโนโลยีอนาคตสำหรับประเทศไทย
เทคโนโลยีที่ 1 : เทคโนโลยีสีเขียวแบบผสมผสาน เทคโนโลยีที่ 2 : เซลล์แสงอาทิตย์และเซลล์เชื้อเพลิง เทคโนโลยีที่ 3 : ชีวโมเลกุลที่ผลิตในแบคทีเรีย เทคโนโลยีที่ 4 : ชีววิทยาระบบ เทคโนโลยีที่ 5 : Super Sensors เทคโนโลยีที่ 6 : เชื้อเพลิง GTL BTL และ CTL เทคโนโลยีที่ 7 : เครื่องจักรนาโน เทคโนโลยีที่ 8 : Omnipresent/Ubiquitous Computing เทคโนโลยีที่ 9 : Natural Disasters Monitoring and Forecasting : Earthquake & Tsunami เทคโนโลยีที่ 10 : พันธุวิศวกรรมใหม่เพื่อการแพทย์และสาธารณสุข

42 เทคโนโลยีที่ 11 : Therapeutic cloning
เทคโนโลยีที่ 12 : วิทยาการทางสมองและการเรียนรู้ เทคโนโลยีที่ 13 : Silicon Photonics เทคโนโลยีที่ 14 : การเกษตรที่มีสมดุลกับระบบนิเวศ เทคโนโลยีที่ 15 : การเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำด้วยวิทยาการ ด้านจีโนมและชีวภาพ เทคโนโลยีที่ 16 : เทคโนโลยีชีวมวล เทคโนโลยีที่ 17 : นาโนอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีที่ 18 : ยาจากเทคโนโลยีชีวภาพที่ผสมผสานกับเคมี

43 ข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
องค์การอาหารและยาสหรัฐอเมริกากำลังจะเห็นชอบอนุญาต ให้จำหน่ายผลิตภัณฑ์นมเนื้อจากสัตว์โคลนนิ่ง (หนังสือพิมพ์ วอชิงตัน โพสต์ ฉบับวันที่ 17 ต.ค. 49) Virtual Factory นาฬิกาอะตอมชนิดใหม่ที่สร้างสถิติความแม่นยำใหม่ของโลก

44 ข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตรวจพบการแพร่กระจายของข้าวดัดแปลงยีนส์ข้าม มหาสมุทรแอตแลนติก การพิจารณาด้านความเสี่ยงและการจัดการความเสี่ยง ของวัสดุนาโนและผลิตภัณฑ์ที่ประกอบด้วยวัสดุนาโน มลพิษทางยีนส์ในสิ่งแวดล้อม ความก้าวหน้าทางจีโนมอาจเกิดผลเสียได้หากใช้ไม่ถูกต้อง การกีดกันผู้ที่มีลักษณะพันธุกรรมที่ไม่ปกติ การคัดเลือกพันธุ์ การละเมิดสิทธิส่วนบุคคล

45 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในฐานะเป็นปัจจัยกำลังอำนาจแห่งชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google