ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ส่วนที่ 3 รูปแบบและแนวทาง การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
2
อะไร? อย่างไร? ในการพัฒนาเป็นโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
“โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน” อะไร? อย่างไร? ในการพัฒนาเป็นโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน นายสุทธิพงษ์ วสุโสภาพล ผู้ชำนาญการ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ(สช.) นักวิชาการ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงฯ(สธ.) กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการสนับสนุนและพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่(สปสช.) โทร , 2
3
เปลี่ยนวิกฤติให้เป็นโอกาส
ในขณะที่ระบบสาธารณสุขมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง มีองค์กรใหม่ๆ ผู้แสดงบทบาทเกิดขึ้นโดยเฉพาะในระดับท้องถิ่นและชุมชน หน่วยงานสาธารณสุขซึ่งเดิมเคยผูกขาดงานด้านนี้ก็ต้องปรับบทบาท ตลอดจนตำแหน่งแห่งที่ของตนในบริบทใหม่ คือ ต้องแข่งขันกับตัวเองเพื่อการพัฒนาและความอยู่รอด นี่คือเหตุผลที่เราต้องหันมาสนใจกับการสร้าง “นวัตกรรม”
4
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
นวัตกรรม คือ การนำเอาสิ่งใหม่ๆ หรือ การปรับปรุงวิธีการ/กระบวนการใหม่ๆ แล้วนำมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนา ซึ่งจะทำให้การพัฒนามีความแตกต่างจากการที่เคยดำเนินการอยู่ โรงเรียน คือ สถานที่เรียนรู้ ให้ความรู้ และสอนความรู้ โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน คือ อะไร? ชุมชนที่มีการนำสิ่งที่มีอยู่ มาปรับปรุงให้ให้เกิดประโยชน์ ต่อการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยมีการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เป็นเครื่องมือในการพัฒนา จนเกิดผลสำเร็จ และสามารถถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์การพัฒนาให้ชุมชนอื่นๆ ได้เรียนรู้และนำไปขยายผลต่อได้
5
ใครเป็นผู้สร้างโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ต้องร่วมมือกันหลายกลุ่ม/องค์กร โดย... ชุมชน เป็นฐานสำคัญและเป็นผู้สร้างโครงการและมาตรการทางสังคม อปท. บริหารจัดการและสนับสนุนทรัพยากรในการดำเนินงาน รวมทั้งสร้างมาตรการท้องถิ่น หน่วยงานสาธารณสุข สนับสนุนการสร้างความร่วมมือ และมาตรการทางวิชาการ ภาคีเครือข่ายต่างๆ ในชุมชน ร่วมสนับสนุนและดำเนินงาน
6
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน จะต้องมีการพัฒนาอะไรบ้าง?
มีการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) เป็นเครื่องมือ มีการสร้างงาน/โครงการ ชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจนเกิดผลงาน หรือ ผลสำเร็จที่ชัดเจน มีการสร้างหลักสูตรการเรียนรู้ และแผนการถ่ายทอดความรู้ สามารถถ่ายทอดความรู้ให้ชุมชนอื่นๆ เพื่อขยายผลต่อไปได้
7
ในพื้นที่โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ขั้นตอนการใช้ SRM ในพื้นที่โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน มีการบริหารและสนับสนุนวิชาการทุกขั้นตอน วิเคราะห์บริบทชุมชน กำหนดทิศทางการพัฒนา กำหนดประเด็นและนิยามตาราง 11 ช่อง เปิดงาน ติดตามผล/ประเมิน เปิดโรงเรียนนวัตกรรมฯ
8
แผนปฏิบัติการ(Road Map)ของวิทยากรเขตระยะที่ 1 (ภายในกรกฎาคม 2553)
วันที่... ตั้ง รนสช. งาน KPI ผู้ถ่ายทอดแสดงบทบาทได้ วันที่... เตรียมผู้ถ่ายทอด การเตรียมชุมชน 2.เตรียมเรื่อง 1.เลือกสื่อ กิจกรรม วิทยากรแสดงบทบาทได้ KPI วันที่... 1>2>3 3.มอบภารกิจ การเตรียมวิทยากรจังหวัด 2.บทบาท/ประเมิน 1.คัดเลือก กำหนดความต่อเนื่องของโครงการได้ KPI วันที่... 3.ประเด็นตั้งต้น ทำความตกลงกับท้องถิ่น 2.สถานที่/สนับสนุน 1.ทำความเข้าใจ ?
9
แผนปฏิบัติการ(Road Map)ของวิทยากรเขตระยะที่ 2 (ภายในกันยายน 2553)
งาน วันที่... เปิด รนสช. 3.เลือกเนื้อหา/กิจกรรมการเรียน/สอน/สร้างสื่อ วันที่... กิจกรรมการเรียน/สอนผ่าน KPI การเตรียมการสอน 2. สร้างแผนการสอน 1.รับสมัคร/ จัดกลุ่มผู้เรียน กิจกรรม วันที่... ผ่านเกณฑ์ทดสอบ KPI 3. ทดสอบหลักสูตร 2.สร้างหลักสูตรตามความต้องการของผู้เรียน การสร้างหลักสูตร 1. สำรวจความต้องการของผู้เรียน พิสูจน์จุดเด่นตามเงื่อนไขได้ วันที่... KPI 3. กำหนดจุดเด่น(Input,process หรือ Output) การพัฒนาโครงการนวัตกรรมสุขภาพ 2.ทำบัญชี /คัดเลือกโครงการนวัตกรรมฯ 1. สร้างโครงการนวัตกรรมฯให้สมบูรณ์
10
บทบาทและความร่วมมือระหว่างหน่วยงานระดับต่างๆ ระยะที่ 1 เตรียมพัฒนาโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
กรม เขต/ภาค วิทยากรกลางเขต/จังหวัด จังหวัด อำเภอ อปท. รพสต. ชุมชน (ผู้นำ/อสม/ฯลฯ) เตรียมนโยบาย เตรียมพัฒนาทักษะของบุคลากร สร้างแผนที่ SLM ร่วมระหว่างกรม เตรียมข้อมูลวิชาการ พัฒนาทักษะ SRM กำหนดประเด็น สร้างตาราง 11 ช่องร่วมระหว่างกรม ร่วมสร้างทีมวิทยากรเขต เตรียมแผนขับเคลื่อนงาน สร้าง รร. นวัตกรรม ขยายงาน SRMพื้นที่ กำหนดคุณภาพ รร./งาน/วิทยากร ตั้งคณะ ทำงานระดับจังหวัด เตรียม แผนขยายงาน เตรียมแผนสนับสนุนงานพื้นที่ ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทำงานระดับอำเภอ เตรียมโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสาน งานพื้นที่เป้าหมาย กำหนดนโยบาย อปท. เตรียมแผนสนับสนุนร่วมกับรพ.สต./ชุมชน ปรับแผนงานสุขภาพให้สอดคล้อง เตรียมแผนงาน/ข้อมูล วิเคราะห์สถานการณ์ PP ร่วม งานกับกลุ่ม/องค์กรในพื้นที่ เตรียมแผนรักษาคุณภาพงานวิชาการ สร้างโครงการคัดกรอง/เฝ้าระวัง กำหนดมาตรการสังคม ริเริ่มสร้างนวัตกรรม สร้างแผนชุมชนใหม่
11
บทบาทและความร่วมมือระหว่างหน่วยงานระดับต่างๆ ระยะที่ 2 ปฏิบัติการ(เปิด)โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
กรม เขต/ภาค วิทยากรกลางเขต/จังหวัด จังหวัด อำเภอ อปท. รพสต. ชุมชน (ผู้นำ/อสม/ฯลฯ) ขับเคลื่อนงานตามนโยบาย สนับสนุนมาตรการทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง บริหารจัดการ SRM ในพื้นที่เขต M,E&I *ความก้าว หน้าอย่างต่อเนื่อง พัฒนา รร. นวัตกรรมในพื้นที่เป้าหมาย 1 แห่ง /อำเภอ รักษาคุณภาพ รร.นวัตกรรมฯ สนับสนุนการฝึกทักษะ SRM ของจังหวัด/อำเภอ ขยายงาน SRM สร้างทักษะบริหารจัดการ SRM ให้บุคลากร ทำM,E&I จัดการนวัตกรรม สนับสนุนมาตรการทางวิชาการ สนับสนุนทรัพยากร ร่วมดำเนินงานในพื้นที่เป้าหมาย M,E&I พื้นที่เป้าหมาย จัดการโครงการฝึกงาน ระหว่างพื้นที่ผ่าน รร.นวัตกรรมฯ ขับเคลื่อนงานให้เชื่อมกับกองทุนสุขภาพฯ สนับสนุนมาตรการสังคม ร่วมดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมฯ สนับสนุนนวัตกรรม ของชุมชน สนับสนุนมาตรการวิชาการ สร้างสมรรถนะทางวิชาการ สนับสนุนโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สนับสนุนวิชาการแก่โรงเรียนนวัตกรรมฯ สร้างโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สร้างและดำเนินมาตรการสังคม สร้างหลักสูตรและสอนในโรงเรียนนวัตกรรมฯ
12
การวางแผนการดำเนินงานในระดับอำเภอ/ตำบล
ส่วนที่ 4 การวางแผนการดำเนินงานในระดับอำเภอ/ตำบล
13
กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม
แผนปฏิบัติการพื้นฐาน(Micro-SLM) สร้างจากยุทธศาสตร์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับประชาชน (สนับสนุนด้วยการพัฒนากระบวนการและพื้นฐานที่วางไว้ใน SLM) กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม ดำเนินมาตรการทางสังคม สร้างโครงการชุมชน ใช้ข้อมูล /สื่อสาร/ ความรู้(กิจกรรมเสริม) ดำเนินงานคัดกรอง/ เฝ้าระวัง ประชาชน กิจกรรมเพิ่มทักษะ ภาคี ประชุมตกลงร่วมงานระหว่างสาขา
14
ประชาชนปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม (ทุกประเด็นพร้อมมาตรการ)
7 เป้าประสงค์พื้นฐานของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ตาม Road Map ประชาชนปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม (ทุกประเด็นพร้อมมาตรการ) ชุมชน มีมาตรการทางสังคม (จัดการขยะชุมชน) ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน (อาหารปลอดภัย) ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ (วัยรุ่น วัยเรียน) ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ (เบาหวาน) อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง (ไข้เลือดออก) ภาคี บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม (ผู้สูงอายุ) กระบวนการ พื้นฐาน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.