งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Corporate Marketing Headquarters (CMH)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Corporate Marketing Headquarters (CMH)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Corporate Marketing Headquarters (CMH)
บริษัท NTT DoCoMo

2 Corporate Marketing Headquarters (CMH)
เป็นองค์กรที่อยู่ในสำนักงานใหญ่ของ บริษัท NTT DoCoMo ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เป็นบริษัทโทรคมนาคมที่ยิ่งใหญ่อยู่ในระดับแนวหน้าของประเทศญี่ปุ่น องค์กรแห่งนี้ มีจุดมุ่งหมายที่จะส่งเสริมให้เกิดการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) ภายในองค์กร ซึ่งได้เรียกรูปแบบการจัดองค์กรนี้ว่า Mobile Office

3

4 Mobile Office แนวคิดของ Mr. Kunio Ushioda
มีการนำความรู้ในเรื่อง SECI Model ซึ่งเป็นแนวคิดของProf. Nonaka and Dr.Takeuchi , Hitotsubashi University

5 SECI Model SECI Model เป็นโมเดลคิดค้นโดนDr.NONAKA Lkujiro และได้มีการประยุกต์ นำไปใช้ในองค์กรภาคธุรกิจอย่างแพร่หลาย ซึ่งมีรูปแบบของโมเดลดังนี้

6 SECI Model

7 SECI Model Socialization เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงความรู้ Tacit ผ่านการแบ่งปันประสบการณ์ ซึ่งได้จากการ สังเกต ลอกเลียนแบบ หรือการลงมือปฏิบัติ Externalization เป็นกระบวนการที่ความรู้ Tacit ถูกทำให้ชัดเจน โดยการเปรียบเทียบใช้ตัวอย่าง หรือ ตั้งสมมุติฐานจนความรู้ Tacit เปลี่ยนแปลงเป็นความรู้ Explicit Combination เป็นกระบวนการที่ความรู้ Explicit ถูกทำให้เป็นระบบจนกลายเป็นความรู้ ซึ่งจะถูก จัดเป็นหมวดหมู่ของความรู้ที่ชัดเจน Internalization เป็นการเปลี่ยนแปลงความรู้ Explicit เป็นความรู้ Tacit ซึ่งเป็นทักษะที่ฝังอยู่ในตัว บุคคลนั้น ๆ อีกครั้ง

8 แนวคิดKnowledge Management (KM) กับการจัด Mobile office
มีการเปรียบเทียบความรู้กับภาพของ หยิน และ หยาง ตามปรัชญาจีน Tacit Knowledge (หยิน) Explicit Knowledge (หยาง)

9 แนวคิดKnowledge Management (KM) กับการจัด Mobile office

10 Knowledge Spiral การหมุนเวียนเปลี่ยนแปลงของความรู้ทั้ง 2 นี้ จะก่อให้เกิดความรู้ใหม่ๆเพิ่มขึ้น ซึ่ง Prof. Nonaka ได้เรียก การเปลี่ยนแปลงนี้ว่า เกลียวความรู้ (Knowledge Spiral)

11 Knowledge Spiral เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตลอดเวลา ภายในองค์กรนั้นๆ
เกิดความรู้ใหม่ๆ และมีผลผลิตที่เพิ่มขึ้น เป็นความคิดพื้นฐาน ที่คุณ Ushioda นำไปจัดการรูปแบบของ Mobile Office

12 Mobile Office concept “Creation by Cross Culture” ซึ่งมีความหมายว่าความรู้ใหม่ในองค์กร จะเกิดขึ้นได้จากการประสานงาน และปรึกษาหารืองานร่วมกันของพนักงานที่มีระดับความรู้ความสามารถ และมีข่าวสารข้อมูลที่เหมือนกัน และแตกต่างกัน

13 Mobile office (layout)
แผนผัง (layout) ของMobile office ได้จากการระดมความคิดร่วมกันของคุณ Ushioda และพนักงาน จีงมีรูปแบบของสำนักงานที่ส่งเสริมให้พนักงานทั้งหมดขององค์กร ซึ่งมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่แตกต่างกัน ได้มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนความรู้ และมีการประสานงานร่วมกันอย่างสม่ำเสมอ จนเกิดเกลียวความรู้ หรือความรู้ใหม่ในองค์กร

14 รูปแบบของ Mobile Office

15 การจัดแบ่งส่วนของสำนักงานตามภาระการใช้งานเป็น 4 ส่วนดังนี้
1. Base Zone 2. Creative Zone 3. Concentration Zone 4. Refresh Zone

16 Base Zone

17 Creative Zone

18 Concentration Zone

19 Refresh Zone

20 การสร้างโฮมเพจ (Homepages) ของตนเองโดยมีเมนูหลัก 4 เมนู
* เมนู My Home * เมนู My Study * เมนู Second House * เมนู Resort House

21 สรุปจุดเด่นของ Mobile Office
จะสามารถเพิ่มเนื้อที่ใช้สอยของสำนักงานได้มากขึ้นกว่าเดิม และเกิดประโยชน์สูงสุดในการใช้งาน พนักงานไม่มีโต๊ะทำงานประจำตัว จึงสามารถย้ายที่นั่ง เพื่อทำงานร่วมกับเพื่อนร่วมงานคนอื่นๆ ตามภาระงาน ที่ต้องทำงานร่วมกัน เป็นสำนักงานที่ลดการใช้กระดาษลงให้น้อยที่สุด จนสุดท้ายจะกลายเป็นสำนักงานไร้กระดาษ (Paperless office) นอกจากนั้นจะช่วยลดการใช้เครื่องถ่ายเอกสารด้วย

22 สรุปจุดเด่นของ Mobile Office
4. การใช้การจัดการความรู้ (KM) มาเป็นการจัดสำนักงานนี้ จะช่วยส่งเสริมให้เกิด - การแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Exchange) - ทักษะและประสบการณ์ความรู้เฉพาะตัว (Individual Knowledge) - การใช้ความรู้ร่วมกัน (Knowledge Sharing) - การสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ (Knowledge Creation)

23 สรุปจุดเด่นของ Mobile Office
5. การประชุมอย่างเป็นทางการจะลดลง เนื่องจากพนักงานจะมีการประชุมหารือตลอดเวลา ในขณะที่นั่งทำงานที่โต๊ะทำงานเดียวกัน 6. ห้องทำงานจะเปิดโล่ง ไม่แออัด และสามารถควบคุมสภาพแวดล้อมของอากาศ กลิ่นไม่พึงประสงค์ และความชื้นในห้องทำงานได้ง่ายขึ้น 7. ลดช่องว่าง (gap) ระหว่างพนักงานในองค์กร

24 แหล่งข้อมูลประกอบการศึกษา
* Umemoto, Katsuhiro. “Managing Existing Knowledge is not Enough : Knowledg Management Theory and Practice in Japan” Available From : * Nonaka, Lkujiro and Takeuchi, Hirotaka The Knowledge Creating Company : How Japanese Companies Create the Dymanics of Innovation. New York : Oxford University Press. * Ushioda, Kunio Aiming for the Mobile Frontier. Paper Presented at NTT DoCoM Company (headquarter) , Japan, 19 November. *


ดาวน์โหลด ppt Corporate Marketing Headquarters (CMH)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google