งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คุณสมบัติทางกายภาพของแร่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คุณสมบัติทางกายภาพของแร่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คุณสมบัติทางกายภาพของแร่
ปฏิบัติการที่ 1 คุณสมบัติทางกายภาพของแร่

2 แร่ (MINERALS) เป็นธาตุหรือสารประกอบ
มีส่วนประกอบทางเคมีที่แน่นอน หรือเปลี่ยนแปลงได้ ในวงจำกัด มีโครงสร้างภายในเป็นระเบียบ

3 คุณสมบัติที่ขึ้นอยู่กับโครงสร้างภายในแร่
คุณสมบัติทางกายภาพ คือ คุณสมบัติที่เห็นได้ด้วยตาเปล่า หรือทดสอบด้วยวิธีการง่ายๆ คุณสมบัติที่ขึ้นอยู่กับโครงสร้างภายในแร่ 1. ความถ่วงจำเพาะ (S.G.) ถ.พ. = น้ำหนักแร่ในอากาศ น้ำหนักแร่ในอากาศ-น้ำหนักแร่ในน้ำ แร่ทั่วไปมี ถ.พ.เฉลี่ย = 2.7 หากก้อนแร่มีปริมาตรเท่าๆกัน ก้อนที่มีถ.พ.สูงกว่าจะหนักกว่า

4 2.ความแข็ง (Hardness) คือ ความคงทนต่อการขูดขีดของแร่ เป็นคุณสมบัติที่ขึ้นอยู่กับความเหนียวแน่นในการจับตัวของอะตอม Moh’s Scale of Hardness อ่อนที่สุด 1 Talc 2 Gypsum เล็บมือ(2.25) 3 Calcite สตางค์ทองแดง(3) 4 Fluorite 5 Apatite มีดพับ(5.5) 6 Orthoclase ตะไบเหล็กกล้า(6.5) 7 Quartz 8 Topaz 9 Corundum แข็งที่สุด 10 Diamond

5

6 3.ความคงทน (Tenacity) คือ วิธีการที่แร่แตกหรือเปลี่ยนแปลงเมื่อมีแรงมากระทำ เปราะ (brittle) แร่ส่วนใหญ่ ตีเป็นแผ่นได้ (malleable) แร่โลหะบริสุทธิ์ ดึงเป็นเส้นได้ (ductile) แร่โลหะบริสุทธิ์ มีดตัดได (sectile) ทัลก ยิปซัม งอได้ (flexible) ทัลก ยิปซัม เวอร์มิคิวไลต์ ยืดหยุ่นได้ (elastic) ไมกา

7 4. แนวแตก (Cleavage) คือ คุณสมบัติของแร่ซึ่งมักจะแตกเป็นระนาบเรียบตามระนาบแนวแตก (cleavage plane) ในทิศทางที่ขนานกับระนาบการจับตัวของอะตอม (atomic plane) และตั้งฉากกับทิศทางซึ่งอะตอมในโครงสร้างของแร่จับตัวกันไม่แน่นหนา

8

9 5. แนวแยก (PARTING)

10 6. การแตก (Fracture) แตกแบบเรียบ (even)
แตกแบบไม่เรียบ (uneven or irregular) แตกเป็นรูปฝาหอย (conchoidal) แตกเป็นเส้นใย (firrous) แตกเป็นเสี้ยนเหมือนเสี้ยนไม้หัก (splintery) แตกเป็นผิวขรุขระแหลมคม (hackly) เป็นต้น

11 7. รูปผลึก (CRYSTAL FORM)

12 8. ลายเส้น (STRIATION)

13 คุณสมบัติที่ขึ้นอยู่กับปฎิกิริยาต่อแสง
1. ความโปร่ง (Diaphaneity) -โปร่งใส (transparent), - กึ่งโปร่งใส (subtransparent) -โปร่งแสง (translucent), - กึ่งโปร่งแสง (subtranslucent) ทึบแสง (opaque)

14 2. สี (Colours)

15 ความหมอง (Tarnish) คือ การเปลี่ยนสีแร่โลหะเนื่องจากปฏิกิริยาเคมีบริเวณผิวแร่ สีผง (Streak) เป็นการทดสอบโดยขีดแร่บนแผ่นกระเบื้อง (streak plate)

16 3. การเล่นสี (Play of colours)

17 4. ประกาย (LUSTER) ประกายโลหะ (metallic luster) กึ่งโลหะ (submetallic)
ประกายอโลหะ (nonmetallic) - เหมือนแก้ว (vitreous) - เหมือนเพชร (adamantine) - เหมือนกากเพชร (splendant) - เหมือนมุก (pearly) - เหมือนยางสน (resinous) - เหมือนไหม (silky) - เหมือนไข (waxy) - ด้าน หรือไม่มีประกาย (dull or earthy)

18 คุณสมบัติอื่นๆ กลิ่น (Odor) - กลิ่นดิน รส (Taste) - รสเค็ม รสเปรี้ยว
สัมผัส (Feel) - ลื่นมือ การเกิดฟอง (Effervescence) -ใช้หลอดหยดกรดเกลือ (เจือจาง) แตะผิวแร่กลุ่มคาร์บอเนต เช่น แคลไซต์ จะเกิดฟองก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ แม่เหล็กดูดติด (Magnetism)

19 Geology for Engineers


ดาวน์โหลด ppt คุณสมบัติทางกายภาพของแร่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google