งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

RANDOMIZED CONTROLLED COMPARATIVE STUDY

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "RANDOMIZED CONTROLLED COMPARATIVE STUDY"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 RANDOMIZED CONTROLLED COMPARATIVE STUDY
Effects of traditional Thai massage versus joint mobilization on substance P and pain perception in patients with nonspecific low back pain

2 เสนอโดย นายสามารถ บัวดี นายธวัชชัย สุวรรณโท นางสาวอัญชลี โอฬารเสถียร

3 ผลของการนวดไทยเทียบกับการเคลื่อนไหวข้อต่อที่มีผลต่อ substance P และการรับความรู้สึกเจ็บปวดในผู้ป่วยปวดหลังส่วนล่างแบบไม่เฉพาะเจาะจง วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อดูผลของการนวดไทยเปรียบเทียบกับการเคลื่อนไหวข้อแบบชาวตะวันตก ที่มีผลต่อระดับความเจ็บปวด

4 สมมุติฐาน การนวดไทยจะลดความเจ็บปวดได้มากกว่าการเคลื่อนไหวข้อต่อในผู้ป่วยปวดหลังส่วนล่างแบบไม่เฉพาะเจาะจง วิธีการศึกษา ทำการสุ่มออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มที่ควบคุมโดย หน่วยกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย และมีสภาจริยธรรมของมหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นผู้อนุมัติขั้นตอนการวิจัย

5 ผู้เข้าร่วมงานวิจัย -จำนวน 67คน นวดไทย 35 คน เคลื่อนไหวข้อ 32 คน ปี -ปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังมากกว่า 12 สัปดาห์

6 ผู้ป่วยที่ถูกคัดออก -menstruation -pregnancy -body temp>35 C -acute trauma -back surgery -spinal fracture -joint subluxation/instability

7 Inflammatory joint disease(RA/GOUT)
Muscle disease Malignancy or infection Neurologic deficits MS Hemi/Para paresis Myelopathy Skin disease/infectious disease(TB or AIDS)

8 วิธีการทดลอง ช่วงที่1การหาช่วงเวลาของการตอบสนองของ Substance P ซึ่งทำโดย -ผู้ป่วย 10 คน (TTM 5 คน, Mobilization 5 คน) -TTM 10 นาที ,Mobilization gr.2 5นาที/เซต ทำ 2 เซต, ตั้งแต่ระดับ L2-L5 -ตรวจหา Substance P จากน้ำลาย

9 สรุป -Substance P จะเปลี่ยนแปลงภายใน 5 นาที หลังจากการรักษา -กลับสู่ค่ามาตรฐาน 10 นาทีหลังจากการรักษา -ดังนั้นน้ำลายจะถูกเก็บก่อนและหลังการรักษา 5 นาที ซึ่งเป็นค่าที่ถูกต้องในการนำไปประเมินในส่วนที่ 2 ของการทดลองต่อไป

10 ส่วนที่ 2 -visual analog scale ก่อนและหลังการรักษา 5 นาที วัดในทั้งสองกลุ่ม -วัด Substance P ในน้ำลาย การวิเคราะห์สถิติ -Pair t-test -ANCOVA

11 Mobilization points

12 Massage points

13

14

15

16

17

18 อภิปราย -เป็นการศึกษาประสิทธิภาพของการนวดไทยเทียบกับการเคลื่อนไหวข้อต่อ ต่อความเจ็บปวด ในผู้ป่วยที่ปวดหลังแบบไม่เฉพาะเจาะจง -ทั้งสองวิธีนี้เป็นการลดปวดได้ชั่วคราว -ระดับของ Substance P ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในทั้งสองกลุ่ม -VAS ในกลุ่มนวดไทยจะต่ำกว่ากลุ่มการเคลื่อนไหวข้อต่อเล็กน้อย -ผลการศึกษาสนับสนุนสมมุติฐาน

19 สรุป -การทดลองของทั้งสองกลุ่มนี้สามารถลดปวดได้ชั่วคราว ในผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังแบบไม่เฉพาะเจาะจง -ผลของการนวดไทยจะมีประสิทธิภาพมากกว่าการเคลื่อนไหวข้อต่อ


ดาวน์โหลด ppt RANDOMIZED CONTROLLED COMPARATIVE STUDY

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google