งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

“การบริหารจัดการงานวิจัยและผลงานวิจัย”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "“การบริหารจัดการงานวิจัยและผลงานวิจัย”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 “การบริหารจัดการงานวิจัยและผลงานวิจัย”
ศาสตราจารย์ ดร. ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพ หัวหน้ากลุ่มวิจัย Polymer Processing and Flow (P-PROF) คณะพลังงานและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.)

2 วงจรการวิจัย โจทย์วิจัย นักวิจัย ผู้ใช้ผลงานวิจัย หน่วยงานภายนอก
Proposal โจทย์วิจัย นักวิจัย 4Ms Applications Publications ผู้ใช้ผลงานวิจัย หน่วยงานภายนอก ผลงานวิจัย

3 ผลลัพธ์โดยตรงและระยะยาวจากงานวิจัย (ความสอดคล้องกับวงจรวิจัย)
สร้างคน หรือนักวิจัยมืออาชีพ สร้างองค์ความรู้ สร้างและพัฒนาหน่วยงาน สังคมและประเทศ ด้วยการวิจัย สร้างโจทย์ใหม่ของปัญหา

4 ประเภทของงานวิจัย งานวิจัยพื้นฐาน (Basic Science Based) - เน้นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ โดยผ่านกลไกทางวิทยาศาสตร์ (ระยะยาว) งานวิจัยเชิงประยุกต์ (Application & Technology Based) - เน้นการประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อการใช้งานจริง ผ่านกลไกทางเทคโนโลยี (ระยะสั้น) งานวิจัยที่เป็นศาสตร์ของชาติหรือท้องถิ่น (National or Local Research) งานวิจัยของศาสตร์นานาชาติ (International Research)

5 ลักษณะของงานวิจัย การออกแบบและจัดสร้าง (คิดค้น)
การสร้างความรู้ใหม่ (ค้นพบ) การสร้างองค์ความรู้ใหม่ (ลึกซึ้ง) การขยายผลการศึกษาที่มีอยู่ (ต่อยอด) การรวบรวมหลักฐานที่ค้นพบแล้ว (จัดการและกระชับ) เพื่อหาข้อยกเว้นและข้อจำกัดจากผลงานวิจัยเดิม เชื่อมโยงผลงานวิจัยระหว่างสาขาวิชา (บูรณาการ)

6 การจัดการการวิจัย (4Ms แนวปฏิบัติของผู้บรรยาย)
Manpower : หัวหน้าทีมวิจัย หัวหน้ากลุ่มย่อย นักวิจัย นักศึกษา เจ้าหน้าที่บริหารงานวิจัย (การกระจายอำนาจ ที่มีจุดรวม) Money : ความต่อเนื่องของเงินทุนวิจัย (ภายในและภายนอก) Materials and Machines : ความพร้อมของเครื่องมืออุปกรณ์ และวัตถุดิบของงานวิจัย Management : ระบบการบริหารจัดการงานวิจัย (คล่องตัว แต่โปร่งใส ตรวจสอบได้)

7 ผลงานวิจัยที่ดี ตอบคำถามของโจทย์และปัญหา และนำไปสู่องค์ความรู้ใหม่
ไม่ซ้ำซ้อนกับสิ่งที่มีอยู่แล้ว หรือหากซ้ำซ้อนควรได้ผลดีกว่า อธิบายได้อย่างชัดเจน (ว่าสอดคล้องหรือ/และขัดแย้งกับผลงานวิจัยอื่นๆ) มีความเป็นคุณภาพและความเป็นปริมาณ ได้ผลสัมฤทธิ์ที่แม่นยำ (good reproducibility) รู้สึกได้ถึงความสม่ำเสมอของตรรกะของผลการวิจัย เป็นที่ยอมรับจากสาธารณชนและนักวิชาการ ได้รับการเผยแพร่ในระดับคุณภาพสากล หรือ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ นำไปสู่โจทย์วิจัยใหม่ที่ลึกซึ้งและสูงกว่า

8 การสนับสนุนการวิจัย วิจัยว่าทำไม คนของเราไม่ทำวิจัย
มีงบประมาณก้นถุงเพื่อนักวิจัยใหม่ ระบบนักวิจัยพี้เลี้ยง (mentor) นโยบายการหาเงินต้องสูงกว่าการใช้เงิน มีเงินสมทบแก่ผู้ขอทุนภายนอกได้ จัดสรรค่าตอบแทนแก่ผู้ตีพิมพ์ผลงาน ตั้งเกณฑ์ผลงานวิจัยควบคู่การทำงาน ให้รางวัลกับผลงานวิจัยที่ดี (จริงๆ) เชื่อมประสานโครงสร้างการบริหาร (ผู้บริหาร) กับการวิจัย (นักวิจัย) ให้ทำงานวิจัยแบบกัดติด และต่อเนื่อง ประเมินการทำงานจากการวิจัย (ไม่ให้เทียบเท่า แต่แบ่งตามสายงาน) จัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศเฉพาะทาง เลื่อนตำแหน่งจากผลงานวิจัย ไม่เลือกทางที่ง่ายกว่าสำหรับการวิจัย แต่มีขั้นบันได (สู่นักวิจัยอาชีพ) ให้นักวิจัยร่วมกำหนดนโยบายการวิจัยของหน่วยงาน กำหนดเกณฑ์ตำแหน่งวิชาการให้มีสัดส่วนผลงานวิจัย


ดาวน์โหลด ppt “การบริหารจัดการงานวิจัยและผลงานวิจัย”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google