งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Computer Architecture and Assembly Language

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Computer Architecture and Assembly Language"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Computer Architecture and Assembly Language
By Juthawut Chantharamalee Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

2 บทที่ 11 โครงสร้างควบคุม (Control Structure)
บทที่ 2 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

3 การสร้างโครงสร้างการตัดสินใจแบบ if-then-else
รูปแบบของโครงสร้างที่ง่ายที่สุดคือโครงสร้างแบบ if-then-else รูปแบบของ โปรแกรมภาษาแอสเซมบลีให้มีโครงสร้างแบบ if-then-else มีลักษณะดังนี้ if condition is false then jump to elselabel then_actions jump to endif_label elselabel: else_actions endif_label: Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

4 ตัวอย่างโปรแกรม โปรแกรมที่ 11.1
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

5 การสร้าง repeat until loop
มีลักษณะรูปที่ 11.1 รูปที่ 11.1 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

6 เราสามารถเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาแอสเซมบลีโดยมีโครงสร้างแบบ repeat until ได้ดังตัวอย่าง
โปรแกรมที่ 11.2 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

7 repeat until loop รูปแบบของโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีที่เทียบเท่ากับ repeat until loop มีลักษณะ เป็นดังนี้ startlabel: action; ... if condition is false then jump to startlabel Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

8 การสร้าง while loop ในภาษาระดับสูงทั่วไปมีลักษณะรูปที่ 11.2
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

9 เราสามารถเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาแอสเซมบลีโดยมีโครงสร้างแบบ while loop ได้ ดังตัวอย่าง
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

10 การสร้าง for loop มีลักษณะรูปที่ 11.3 รูปที่ 11.3
Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

11 for loop รูปแบบของโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีที่มีโครงสร้างเป็นแบบ for loop มีลักษณะดังนี้   initialize index variables startloop: if index value is not in the range then jump to endloop action . . . update index variable jump to startloop endloop: Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

12 เราสามารถเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาแอสเซมบลีโดยมีโครงสร้างแบบ for loop ได้ดังตัวอย่าง
โปรแกรมที่ 11.4 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

13 for loop เรายังสามารถใช้คำสั่ง LOOP ในการสร้างโครงสร้างแบบ for loop ได้ เช่นเดียวกัน ดังต่อไปนี้   set the value of CX startloop: actions LOOP startloop  แต่การใช้คำสั่ง LOOP ในการสร้างโครงสร้างแบบ for loop ไม่สามารถสร้าง โครงสร้างการกระทำซ้ำที่มีความซับซ้อนมาก ๆ ได้ เช่นการกระทำซ้ำที่มีวงรอบของการ กระทำซ้ำซ้อนกันหลาย ๆ วง Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

14 for loop สำหรับคำสั่ง LOOPZ และ LOOPNZ นั้น เราสามารถนำมาใช้ในการสร้าง โครงสร้างควบคุมที่มีความซับซ้อนขึ้นได้ โดยโครงสร้างดังกล่าวจะมีลักษณะปนกัน ระหว่าง for loop และ while loop หรือ repeat until นั่นคือเงื่อนไข ควบคุมการกระทำซ้ำจะขึ้นกับทั้งค่าของรีจิสเตอร์ (มีลักษณะคล้ายโครงสร้างแบบ for loop) และเป็นเงื่อนไขจริง ๆ (คล้าย repeat until loop และ while loop) ดังในตัวอย่างโปรแกรมต่อไปนี้ Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

15 เงื่อนไขควบคุมการกระทำซ้ำจะขึ้นกับทั้งค่าของรีจิสเตอร์
โปรแกรมที่ 11.5 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

16 สรุป การใช้คำสั่งกระโดดมาสร้างเป็นโครงสร้างควบคุมรูปแบบต่าง ๆ การใช้คำสั่งกระโดดใน ลักษณะนี้จะทำให้โปรแกรมของเรามีความเป็นโครงสร้างมากขึ้น เช่น การสร้างโครงสร้าง การตัดสินใจแบบ if-then-else, repeat until loop, while loop และ for loop เป็นต้น ดังนั้นผู้เขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีจำเป็นจะต้องทำ ความเข้าวิธีการและรูปแบบการเลือกการสร้างโครงสร้างควบคุมใช้งานให้เหมาะสมมาก ที่สุด Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

17 The End Lesson 11 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)


ดาวน์โหลด ppt Computer Architecture and Assembly Language

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google