งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริโภค การออม และการลงทุน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริโภค การออม และการลงทุน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริโภค การออม และการลงทุน

2 Classical Theory and The Keynesian Revolution

3 มีการจ้างงานเต็มที่ในระยะยาว
Classical Theory Classical Economist : Adam Smith มีการจ้างงานเต็มที่ในระยะยาว Say’s Law Supply creates its own Demand

4 Keynesian School of Economics
John Maynard Keynes The General Theory of Employment, Interest and Money (ปี ค.ศ. 1939) Demand creates its own Supply

5 Aggregate Expenditure = C + I + G + (X – M)
Aggregate Demand = C + I + G + (X – M)

6 รายจ่ายเพื่อการบริโภคและการออม Consumption Expenditure [C] and Saving [S]

7 ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม
รายได้สุทธิส่วนบุคคลหรือรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง (Disposable Income) รายได้ C S รายได้ C S

8 ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม
ขนาดของสินทรัพย์สภาพคล่อง สินทรัพย์สภาพคล่อง คือ สิ่งที่เราถือว่าเป็นเงิน (Money) ได้แก่ เงินสด เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝากประจำ พันธบัตร ทองคำ หุ้น และที่ดิน ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้สามารถเปลี่ยนเป็นเงินได้รวดเร็วและ ไม่เสียค่าใช้จ่ายมากนัก

9 > C ก C ข นาย ก. มีรายได้ 10,000 บาท/เดือน
นาย ข. มีรายได้ 10,000 บาท/เดือน มีเงินฝากประจำ 1,000,000 บาท มีที่ดินมูลค่า 1,000,000 บาท C ก C ข >

10 ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม
สินค้าถาวรที่ผู้บริโภคมีอยู่ อุปนิสัยในการใช้จ่ายของผู้บริโภค สินเชื่อเพื่อการบริโภคและอัตราดอกเบี้ย การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต การคาดคะเนรายได้ในอนาคต ปัจจัยอื่นๆ

11 ฟังค์ชั่นการบริโภคและการออม
C = f ( Yd, A1, A2, A3, … ) C คือ รายจ่ายเพื่อการบริโภค Yd คือ รายได้สุทธิ หรือ รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง (DI) A1, A2, A3,… คือ ปัจจัยอื่นๆ เมื่อ

12 ฟังค์ชั่นการบริโภคและการออม
C = f ( Yd, A1, A2, A3, … ) ในระยะสั้น Consumption Function คือ C = f (Yd ) Saving Function S = f ( Yd )

13 ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการบริโภค (Average Propensity to Consume : APC)
อัตราส่วนของค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคต่อรายได้ ค่าที่แสดงว่ารายจ่ายในการบริโภคคิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของรายได้ C Yd APC =

14 ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการออม (Average Propensity to Save : APS)
อัตราส่วนของการออมต่อรายได้ ค่าที่แสดงว่าการออมคิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของรายได้ S Yd APS =

15 ความโน้มเอียงส่วนเพิ่มในการบริโภค (Marginal Propensity to Consume : MPC)
อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงรายจ่ายในการบริโภคต่อการเปลี่ยนแปลงของรายได้ C  Yd MPC =

16 ความโน้มเอียงในการออมหน่วยสุดท้าย (Marginal Propensity to Save : MPS)
อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงของการออมต่อการเปลี่ยนแปลงของรายได้ S  Yd MPS =

17 0.25 - 0.75 0.12 0.11 0.08 0.05 -0.08 -0.25 -0.75 0.88 0.89 0.92 0.95 1.00 1.08 1.25 1.75 100 75 50 25 -25 -50 -75 -100 700 800 625 550 600 475 500 400 325 300 250 200 175 MPS MPC APS APC S C Yd

18 ระดับรายได้เสมอตัว (Break even)
C Yd C, S 100 -100 200 400 600 800 300 500 700 S C = Yd ระดับรายได้เสมอตัว (Break even)

19 Yd =  APC = , APS = 0.05 ณ รายได้ 500 บาท โดยเฉลี่ยแล้ว เงิน 1 บาท จะนำไปบริโภค 0.95 บาท และนำไปออม 0.05 บาท Yd = C S ถ้า Yd = 1 Yd = APC + APS

20 เมื่อ Yd เพิ่มขึ้น C จะเพิ่มขึ้น
Keynes : เมื่อ Yd เพิ่มขึ้น C จะเพิ่มขึ้น แต่ C จะเพิ่มขึ้นน้อยกว่า Yd ที่เพิ่มขึ้น MPC > 0 MPC < 1 0 < MPC < 1 MPC

21 MPC = , MPS = 0.25 ถ้ามีรายได้เพิ่มขึ้น 1 บาท จะใช้จ่ายเพื่อการบริโภคเพิ่มขึ้น 0.75 บาท และนำไปออมเพิ่มขึ้น 0.25 บาท Yd = C S ถ้า Yd = 1 Yd = C S Yd = MPC  Yd ดังนั้น = C S + MPS

22 การลงทุน (Investment : I)

23 การลงทุน (Investment : I)
ค่าใช้จ่ายในการผลิตสินค้าทุน (Capital goods) การใช้จ่ายโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญ คือ ทำให้ การผลิตสินค้าและบริการในอนาคตเพิ่มขึ้น

24 การซื้อหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ การซื้อที่ดินเพื่อเก็งกำไร การซื้อสินทรัพย์และหลักทรัพย์มือสอง ไม่ถือเป็นการลงทุน แต่เป็นการลงทุนทาง การเงิน (Financial Investment)

25 ประเภทของการลงทุน การลงทุนโดยอิสระ (Autonomous investment) การลงทุนโดยจูงใจ (Induced investment)

26 การลงทุนโดยอิสระ (Autonomous investment)
ค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุนที่ไม่มีความสัมพันธ์กับรายได้ประชาชาติ I Y Ia

27 การลงทุนโดยจูงใจ (Induced investment)
การลงทุนที่มีความสัมพันธ์กับรายได้ประชาชาติ และความสัมพันธ์นี้จะเป็นไปในทิศทางเดียวกัน Y I Y I I Y Ii

28 รายได้ที่เพิ่มขึ้นนี้ต้องเป็นรายได้ที่องค์กรธุรกิจคาดว่าจะเพิ่มขึ้นอย่างถาวรเป็นระยะเวลานาน จึงจะมีผลจูงใจให้กลุ่มธุรกิจลงทุนเพิ่ม Y I C G

29 ตัวทวี หรือ ตัวคูณ (Multiplier)
ระบบเศรษฐกิจที่ไม่มีรัฐบาลและการค้าระหว่างประเทศ GDP = Y = C I I = ล้านบาท (C คงที่) Y = ล้านบาท Multiplier

30 ตัวทวี หรือ ตัวคูณ (Multiplier)
ตัวเลขที่แสดงว่าเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุน (I) แล้วระดับรายได้ประชาชาติ (Y) จะเปลี่ยนแปลงไปในสัดส่วนเท่าใดของการเปลี่ยนแปลงค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุนนั้น ตัวเลขที่แสดงว่าเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุน (I) ระดับรายได้ประชาชาติ (Y) จะเปลี่ยนแปลงไปเท่ากับตัวทวีคูณด้วยปริมาณการเปลี่ยนแปลงในค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุนนั้น

31 Y = C I I = ล้านบาท (C คงที่) Y = ล้านบาท 100 = 25 4 x ถ้ามีการลงทุนเพิ่มขึ้น 1 หน่วย รายได้ประชาชาติจะเพิ่มขึ้น 4 เท่าของการลงทุนที่เพิ่มขึ้น Multiplier

32 = 4 x 25 Y = k x I ( k : Multiplier ) Y I k =

33 การทำงานของตัวทวี รวม การออมที่เพิ่มขึ้น การบริโภคที่เพิ่มขึ้น
25 75 100 รวม I = 25 ... 1.98 5.93 7.91 5 2.64 10.55 4 3.51 14.06 3 4.69 18.75 2 6.25 25.00 1 การออมที่เพิ่มขึ้น การบริโภคที่เพิ่มขึ้น การเพิ่มขึ้นของรายได้ Y รอบการใช้จ่าย การลงทุนที่เพิ่มขึ้น I กำหนด MPC = 0.75 MPS = 0.25 1 x = 0.75 x = (0.75)2 x 25 = (0.75)3 x 25 = (0.75)4 x 25 =

34 100 = (1 x 25) + (0.75 x 25) + ((0.75)2 x 25) + ((0.75)3 x 25) + ((0.75)4 x 25) + ... ( n ) x 25 1 1 – 0.75 x 25 Y = 1 – MPC x  I MPS = 0.25

35 Y = k x I ( k : Multiplier ) Y = 1 1 – MPC x  I MPS

36 Y = C I Y = C I 1 = MPC + I MPC = 1 – MPC MPS k

37 < k <  จาก 1 พิจารณา ถ้า I = 25 k = k < >
0 < MPC < 1 จาก < k < 1 พิจารณา ถ้า I = 25 MPC = 0.75 k = 4 MPC < 0.75 k Y = 100 Y < MPC > 0.75 >

38 รายได้ประชาชาติใหม่เท่ากับ 200 ล้านบาท
เดิมรายได้ประชาชาติเท่ากับ 100 ล้านบาท ต่อมามีการลงทุนเพิ่มขึ้น 20 ล้านบาท รายได้ประชาชาติใหม่เท่ากับเท่าใด ถ้า MPC = 0.8 k 1 1 – MPC = 1 – 0.8 = 5 Y I 5 20 Y = 5 x = ล้านบาท รายได้ประชาชาติใหม่เท่ากับ 200 ล้านบาท


ดาวน์โหลด ppt การบริโภค การออม และการลงทุน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google