งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
บทที่ 3 การผลิต ต้นทุน รายรับ และกำไร การผลิต หน่วยผลิต และอุตสาหกรรม ต้นทุนการผลิต การผลิตและต้นทุน รายรับและกำไร EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 1

2 การผลิต หน่วยผลิต และอุตสาหกรรม วิธีใดมีประสิทธิภาพที่สุด
การผลิต คือ กระบวนการแปรรูปปัจจัยการผลิตต่างๆ ให้เป็นผลผลิต รวมทั้งการขนส่งสินค้าไปยังผู้บริโภค กระบวนการผลิต ปัจจัยการผลิต สินค้าและบริการ วิธีใดมีประสิทธิภาพที่สุด ผู้ประกอบการ ฟังก์ชันการผลิต QA = f ( a1, a2, a3, … ) EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 2

3 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
กรณีตัวอย่างการผลิตสินค้า กระดาษถ่ายเอกสาร EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

4 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
โครงสร้างการผลิต โดย จณัญญา วิรุณานนท์ การผลิตกระดาษถ่ายเอกสารแต่ละประเภทนั้นจะใช้วัตถุดิบและค่าใช้จ่ายในการผลิตที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับคุณภาพกระดาษที่ต้องการ ทั้งนี้ วัตถุดิบหลักในการผลิตกระดาษถ่ายเอกสารคือ “เยื่อกระดาษ” นอกจากนี้ ยังประกอบด้วย สารเคมี และน้ำ รายละเอียด ดังนี้ EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

5 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต: คือเยื่อกระดาษ ซึ่งประกอบด้วยเยื่อใยยาว และเยื่อใยสั้น นอกจากนี้ ยังมีแคลเซียมคาร์บอเนต และแป้ง ทั้งนี้ วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตคิดเป็นร้อยละ 80 ของต้นทุนการผลิต 2. เคมีภัณฑ์: สารเคมีที่ใช้ในการผลิตกระดาษถ่ายเอกสารที่สำคัญคือ “สารกันซึมน้ำ” “สารเพิ่มความสว่าง” และ “สี” โดยสัดส่วนของต้นทุนสารเคมีอยู่ในระดับต่ำเพียงร้อยละ 2-8 ของต้นทุนการผลิต 3. พลังงาน: ได้แก่ น้ำ ไฟฟ้า และน้ำมัน โดยที่ต้นทุนพลังงานจะมีค่าสูงรองลงมาจากต้นทุนวัตถุดิบ โดยมีสัดส่วนร้อยละ 9-12 ของต้นทุนการผลิต EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

6 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

7 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
การผลิตกระดาษAA จากต้น ยูคาลิปตัส EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

8 ผู้ผลิตและจำหน่ายกระดาษถ่ายเอกสาร
แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับผู้ผลิต ผู้แทนจำหน่าย และผู้ค้าปลีก ดังนี้ 1. กลุ่มผู้ผลิต: โรงงานผู้ผลิตกระดาษถ่ายเอกสารในประเทศ ซึ่งหมายรวมถึงกระดาษพิมพ์เขียนมีอยู่ 5 บริษัทหลักๆ ได้แก 1) บมจ. แอ๊ดวานซ์ อะโกร (เนื้อ AA) 2) บจก. ผลิตภัณฑ์กระดาษไทย (เนื้อ TPI) 3) บจก. กระดาษศรีสยาม (เนื้อศรีสยาม) 4) บจก. บูรพาอุตสาหกรรม (เนื้อบูรพา) 5) บจก. โรงงานอุตสาหกรรมกระดาษบางปะอิน (เนื้อบางปะอิน) EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

9 2. กลุ่มผู้แทนจำหน่าย : จำแนกตามเนื้อกระดาษถ่ายเอกสาร ดังนี้
1) เนื้อกระดาษ AA จัดจำหน่ายโดย บจ.เค พี ไอ เทรดดิ้ง หจก.บางพลีสเตชั่นเนอรี่ บจ.ร่มฉัตรอาภา บจ.โอเชี่ยน เปเปอร์ บจ.เวิลด์แฟกซ์ เปเปอร์ บจ.สามเจริญเทรดดิ้ง บจ.แกรนด์เปเปอร์ บจ.สหผลเปเปอร์ บจ.ไนซ์ลี่เปเปอร์ ดีเวลลอปเม้นท์ และบจ.ซี.เอ็น ซิสเต็ม 2) เนื้อกระดาษ TPI จัดจำหน่ายโดย หจก.ลิ้มพาณิชย์ บจ.รีมส์ แอนด์ โรลส์ บจ.แอลคอท แอนด์โก หจก.สยามยูไนเต็ด คอมพิวเตอร์ (1996) บจ.ฮั่วกี่เปเปอร์ บจ.ร็อคซี เปเปอร์ บจ.บางกอก เปเปอร์ บิสสิเนส 3) เนื้อกระดาษบางปะอิน จัดจำหน่ายโดย บจ.โรงงานอตุสาหกรรมกระดาษบางปะอิน และบจ.แพน-เปเปอร์ (1992) 4) เนื้อกระดาษบูรพา จัดจำหน่ายโดย บจ.เอยูเอส เปเปอร์ 5) เนื้อกระดาษศรีสยาม จัดจำหน่ายโดย บจ.กระดาษศรีสยาม 6) เนื้อกระดาษนำเข้า จัดจำหน่ายโดย บจ.ผลิตภัณฑ์กระดาษไทย บจ.ซี.เอ.เอส.เปเปอร์ บจ.ร็อคซี เปเปอร์ EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

10 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
3. กลุ่มผู้ค้าปลีก: ส่วนใหญ่แล้ว ผู้ค้าปลีกกระดาษถ่ายเอกสารคือตัวแทนจำหน่ายเครื่องเขียนและเครื่องใช้สำนักงาน เช่น เอ เอ เปเปอร์ แอนด์ สเตชั่นเนอรี่ ออฟฟิศเมท สหออฟฟิศ โบ๊ทบุ๊กส์ แอนด์ สเตชั่นเนอรี่ และออฟฟิศ ดีโปท์ ฯลฯ นอกจากนี้ ยังมีจำหน่ายในห้างสรรพสินค้าและร้านค้าทั่วไป เช่น B2S และ Data IT เป็นต้น EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

11 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
เราผลิตไฟฟ้าจากอะไร? ในการผลิตไฟฟ้านั้น เราต้องนำพลังงานจากแหล่งพลังงานต่างๆ มีอยู่บนโลกมาทำการผลิต                                                                                                          EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

12 ประเทศไทย มีการใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง
ในการผลิตไฟฟ้ามากถึงร้อยละ ๗๐                                                                                                           EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

13 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
แหล่งอ้างอิง    เอกสารเผยแพร่ พลังงาน : เพื่อความเข้าใจ ใช้อย่างรู้คุณค่า พัฒนาสู่ความยั่งยืน, สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี รู้ ‘รักษ์พลังงาน : รู้เท่าทันสถานการณ์พลังงาน, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

14 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
น้ำอัดลม ถูกผลิตขึ้นมาได้อย่างไร การผลิต EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

15 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
John Stith Pemberton (January 8, 1831–August 16, 1888) was a Confederate veteran, an American druggist, and the inventor of Coca-Cola. EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

16 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
THE PLANT HAS BEEN RUNNING TRIAL PRODUCTION AT LOW VOLUMES SINCE MID-NOVEMBER 2008 AND IS EXPECTED TO ATTAIN FULL CAPACITY DURING BY 2010, COCA-COLA HOPES TO REUSE OR RECYCLE 30 PER CENT OF ITS BOTTLES AND CANS IN THE US. IT’S LONG-TERM OBJECTIVE IS TO RAISE THIS FIGURE TO 100 PER CENT AS SOON AS POSSIBLE. EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

17 ความหมายของหน่วยผลิต (Firm)
เพิ่ม ความหมายของหน่วยผลิต (Firm) หน่วยผลิตในทางเศรษฐศาสตร์ คือ หน่วยเศรษฐกิจที่ทำหน้าที่ในการผลิต และ/หรือจำหน่ายสินค้าและบริการ และทำหน้าที่ในการรวบรวมปัจจัยการผลิตต่างๆ มาใช้ในการผลิต ตัวอย่างของหน่วยผลิต เช่น ร้านค้าเจ้าของคนเดียว ห้างหุ้นส่วน บริษัทจำกัด บริษัทมหาชน เป็นต้น EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 17

18 ความหมายของอุตสาหกรรม (Industry)
เพิ่ม ความหมายของอุตสาหกรรม (Industry) อุตสาหกรรม คือ กลุ่มหน่วยผลิตที่ผลิตสินค้าหรือบริการอย่างเดียวกันหรือคล้ายกัน เช่น อุตสาหกรรมน้ำอัดลม อุตสาหกรรมทอผ้า อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ อุตสาหกรรมหนึ่งอาจมีผู้ผลิตน้อยรายหรือจำนวนมาก ซึ่งเป็นตัวกำหนดโครงสร้างตลาด EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 18

19 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
ต้นทุนการผลิต ในการตัดสินใจว่าจะผลิตอย่างไร และจำนวนเท่าใดนั้น ผู้ผลิตต้องเปรียบเทียบระหว่างต้นทุนและรายรับ ต้นทุนลักษณะต่างๆ ต้นทุนชัดแจ้งและต้นทุนแฝง ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์และต้นทุนทางบัญชี ต้นทุนค่าเสียโอกาส ต้นทุนเอกชน ต้นทุนสังคม ต้นทุนระยะสั้นและต้นทุนระยะยาว EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 19

20 ต้นทุนชัดแจ้งและต้นทุนแฝง
ต้นทุนชัดแจ้ง (Explicit Cost) เป็นค่าตอบแทนปัจจัยการผลิตต่างๆ ที่จ่ายเป็นตัวเงิน ต้นทุนแฝง/ต้นทุนไม่ชัดแจ้ง/ต้นทุนประเมิน (Implicit Cost) เป็นต้นทุนที่เกิดจากการใช้ปัจจัยการผลิตของผู้ผลิตเอง โดยไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน หรือจ่ายต่ำกว่าราคาตลาด ซึ่งส่วนที่ไม่จ่ายหรือจ่ายต่ำกว่านี้สามารถประเมินออกมาเป็นตัวเงินได้ เช่นใช้บ้าน ใช้เงินทุน ใช้แรงงานตนเอง EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 20

21 ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์
*คือค่าตอบแทนปัจจัยการผลิตทั้งหมด ทั้งที่เป็นตัวเงินและสิ่งของ ซึ่งบางรายการอาจไม่ได้มีการจ่ายจริงก็ต้องประเมินค่าตอบแทนให้แก่ปัจจัยการผลิตที่นำมาใช้ ต้นทุนแฝง + ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ ต้นทุนชัดแจ้ง EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 21

22 ต้นทุนทางบัญชี (Accounting Cost)
* ต้นทุนชัดแจ้ง (explicit cost) ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ มากกว่า ต้นทุนทางบัญชี กำไรทางเศรษฐศาสตร์ น้อยกว่า กำไรทางบัญชี EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 22

23 ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost)
หมายถึงมูลค่าของทางเลือกที่ดีที่สุดในบรรดาทางเลือกทั้งหลายที่มีอยู่และได้สละไป เนื่องจากนำทรัพยากรมาใช้ประโยชน์ในทางหนึ่งทางใดเสียแล้ว หลักค่าเสียโอกาส ใช้ในการคำนวณต้นทุนแฝง โดยพิจารณาว่าถ้านำทรัพยากรดังกล่าวไปใช้ใน ทางเลือกอื่น จะให้ผลตอบแทนเท่าใด เช่น นักข่าว(30,000) นักโฆษณา (50,000) นักเขียน (20,000) EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 23

24 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
ผลกระทบภายนอก(Externalities) หมายถึง ผลกระทบที่เกิดจากกิจกรรมใดๆ ของหน่วยผลิต ที่ส่งผลต่อบุคคลหรือกลุ่มบุคคลภายนอกหน่วยผลิต โดยไม่มีการจ่ายเงินชดเชย ผลกระทบภายนอกแบ่งได้เป็น 2 ประเภท - ผลกระทบที่เป็นด้านบวก (External Benefit)เช่น - ผลกระทบที่เป็นด้านลบ (External Cost) เช่น กรณีเกิดผลกระทบด้านลบ แล้วมีการจ่ายเงินชดเชย (compensation) จนบุคคลหรือกลุ่มบุคคลผู้เสียหายพอใจ ผลกระทบภายนอกอาจมีการลบล้างมีค่าเป็นศูนย์ได้ สวนสาธารณะ มลภาวะเป็นพิษ EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 24

25 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
External Cost EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

26 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
ผลจากน้ำเสียที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม แม่น้ำเน่าเสีย ปลาตาย ชาวบ้านไม่สามารถใช้น้ำเพื่อการอุปโภค – บริโภค และเจ็บป่วย EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

27 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
External Benefit EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

28 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
ต้นทุนทางเอกชน และต้นทุนสังคม ต้นทุนเอกชน (private cost or Internal Cost) คือ ต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นในการผลิตของหน่วยผลิตเอกชน และหน่วยผลิตเป็นผู้รับภาระโดยตรงที่เกิดจากการซื้อขายปัจจัยการผลิตผ่านตลาด ผลประโยชน์เอกชน (private benefit) คือผลประโยชน์ทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการผลิตของหน่วยผลิตเอกชน ซึ่งก็คือรายรับจากการขายผลผลิตในตลาด ต้นทุนสังคม (social cost) = ต้นทุนเอกชน + ผลกระทบจากภายนอกที่เป็นลบ ผลประโยชน์สังคม (social benefit) = ผลประโยชน์เอกชน + ผลกระทบจากภายนอกที่เป็นบวก EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 28

29 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

30 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
การปฎิบัติการทางการทหารของสหรัฐอเมริกาในการทำสงครามแต่ละครั้ง มีต้นทุนสูงมากดังตัวเลข นักศึกษาสามารถอธิบายได้หรือไม่ว่า External Cost ประกอบด้วยรายการใดบ้าง EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

31 การผลิตและต้นทุน การผลิตในระยะสั้น (short run period)
เศรษฐศาสตร์แบ่งการผลิตออกเป็น 2 ระยะคือ การผลิตในระยะสั้น (short run period) การผลิตในระยะสั้นเป็นไปตามกฎว่าด้วย ผลผลิตเพิ่ม ลดน้อยถอยลง (Law of Diminishing Returns to Input) การผลิตในระยะยาว (Long run period) การผลิตในระยะยาว เป็นไปตามกฎว่าด้วยผลได้ต่อขนาด (Law of Returns to Scale) EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 31

32 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
ปัจจัยที่มีปริมาณคงที่ ไม่แปรผันตามปริมาณผลผลิต ไม่ว่าจะผลิตมาก น้อย หรือไม่ผลิตเลย ก็เสียค่าต้นทุนให้กับปัจจัยเหล่านี้ เช่น อาคาร เครื่องจักร ที่ดิน ปัจจัยที่มีปริมาณการใช้แปรผันตามปริมาณผลผลิตที่ได้ ผู้ผลิตสามารถปรับเปลี่ยนปริมาณการใช้ได้ตามต้องการ ร้านเสริมสวย มีร้าน ใช้อุปกรณ์ขนาดใหญ่ๆ แชมพู น้ำ ไฟฟ้า ลูกจ้าง EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 32

33 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
การผลิตในระยะสั้น (short run period) การผลิตในระยะสั้นเป็นไปตามกฎว่าด้วยผลผลิตเพิ่ม ลดน้อยถอยลง (Law of Diminishing Returns to Input) ระยะแรก  การใช้ปัจจัยคงที่ + ปัจจัยแปรผัน  ผลผลิตเพิ่มขึ้น ระยะต่อมา  การใช้ปัจจัยคงที่ + เพิ่มปัจจัยแปรผัน ผลผลิตเพิ่มขึ้น ในอัตราที่ลดลง คือผลผลิตเพิ่มลดลง EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 33

34 การผลิตในระยะยาว (long run period)
หมายถึง การผลิตที่ผู้ผลิตสามารถเปลี่ยนแปลงปัจจัยการผลิตทุกอย่างให้มีจำนวนตามต้องการได้ เป็นการเปลี่ยนแปลงขนาดของโรงงานหรือกิจการ ในระยะยาวปัจจัยทุกอย่างจึงเป็นปัจจัยแปรผัน (ไม่มีปัจจัยคงที่) การผลิตในระยะยาว เป็นไปตามกฎว่าด้วยผลได้ต่อขนาด (Law of Returns to Scale) สาระสำคัญ: การเปลี่ยนแปลงปัจจัยการผลิตทุกอย่างในอัตราร้อยละที่เท่ากัน อาจทำให้ปริมาณผลผลิตรวมเปลี่ยนแปลงไปในอัตราร้อยละที่แตกต่างไป คือ หากผลผลิตรวมเพิ่มขึ้น มากกว่า อัตราเพิ่มของปัจจัยการผลิต เรียกว่า ผลได้ต่อขนาดเพิ่มขึ้น (increasing returns to scale) หากผลผลิตรวมเพิ่มขึ้น น้อยกว่า อัตราเพิ่มของปัจจัยการผลิต เรียกว่า ผลได้ต่อขนาดลดลง (decreasing returns to scale) EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 34

35 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
ผลได้ต่อขนาดเพิ่มขึ้น (Increasing returns to scale) ถ้าใช้ปัจจัยการผลิต  10 % ผลผลิต  12 % เกิดขึ้นได้จากการประหยัดต่อขนาด (economies of scale) เช่น -มีการแบ่งงานกันทำได้อย่างเหมาะสม เกิดความชำนาญ -มีการซื้อปัจจัยได้ครั้งละมากๆ ในราคาถูกลง EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 35

36 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
ผลได้ต่อขนาดลดลง (decreasing returns to scale) ถ้าใช้ปัจจัยการผลิต  10 %  ผลผลิต  8 % เกิดขึ้นได้จากการไม่ประหยัดต่อขนาด (diseconomies of scale) เช่น เมื่อขยายการผลิตใหญ่เกินไประดับหนึ่งแล้ว การดูแลอาจไม่ทั่วถึง ต้องแย่งทรัพยากรมาจากหน่วยงานอื่น ส่งผลทำให้ต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้น EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 36

37 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
ต้นทุนที่จ่ายให้กับปัจจัยแปรผัน ซึ่งจะเปลี่ยนตามปริมาณผลผลิต เช่น ค่าวัตถุดิบ ค่าไฟฟ้า-ประปา ต้นทุนที่จ่ายให้กับปัจจัยคงที่ ซึ่งไม่เปลี่ยนตามปริมาณผลผลิต เช่น เงินเดือนประจำ ค่าเช่าที่ดิน EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 37

38 ต้นทุนระยะสั้น และต้นทุนระยะยาว
ต้นทุนระยะสั้น และต้นทุนระยะยาว ต้นทุนการผลิตในระยะสั้น ต้นทุนแปรผันและต้นทุนคงที่ ต้นทุนการผลิตในระยะยาว ต้นทุนแปรผัน EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 38

39 ต้นทุนในลักษณะต่างๆ และการสร้างเส้นต้นทุน
ต้นทุนรวม (Total Cost: TC) หมายถึง ต้นทุนทั้งหมดในการผลิตสินค้า ประกอบด้วย ต้นทุนคงที่รวม (Total Fixed Cost: TFC) และต้นทุนแปรผันรวม (Total Variable Cost: TVC) ดังนั้น TC = TFC + TVC ต้นทุนรวมเฉลี่ยต่อผลผลิต 1 หน่วย (Average Total Cost: ATC หรือ AC) คือต้นทุนรวมหารด้วยจำนวนผลผลิต ดังนั้น AC = TC/Q = AFC + AVC ต้นทุนเพิ่ม (Marginal Cost: MC) คือต้นทุนรวมที่เปลี่ยนแปลงไป (เพิ่มหรือลด) จากการผลิตที่เปลี่ยนแปลงไป(เพิ่มหรือลด) 1 หน่วย ดังนั้น MC = TC/Q TC = TFC + TVC Q Q Q AC = AFC + AVC คือ ความชันของเส้น TC EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 39

40 ตารางความสัมพันธ์ของต้นทุนประเภทต่างๆ
TC2-TC1/Q2-Q1 Q TFC TVC TC AFC =TFC/Q AVC =TVC/Q ATC หรือ AC =TC/Q =AFC+AVC MC = TC Q 4 ….. 1 5 ……. …….. 2 8 12 6 3 15 19 1 .33 6.33 7 32 36 9 17 65 69 0.8 13 13 .8 33 4 4/1 5/1 9/1 หรือ 4+5 (9-4)/(1-0) 9 4 5 9 5 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 40

41 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
MC AC AVC AFC ปริมาณผลผลิต (Q) EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 41

42 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
รายรับและกำไร รายรับจากการผลิต รายรับรวม (Total Revenue: TR) TR= P x Q รายรับเฉลี่ย (Average Revenue: AR) AR = TR/Q รายรับเพิ่ม (Marginal Revenue: MR) MR = TR/Q TR2-TR1 Q2-Q1 คือ ความชันของเส้น TR EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 42

43 ตารางรายรับประเภทต่างๆ (กรณีราคาคงที่ : ตลาดแข่งขันสมบรูณ์)
P Q TR=PxQ AR=TR/Q MR= TR/ Q 10 ….. 1 2 3 30 4 40 5 50 6 60 7 70 10 10 10 20 10 10 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 43

44 เส้นรายรับประเภทต่างๆ
ตลาดแข่งขันสมบรูณ์ TR AR =MR =D =P เส้นตรงขนานแกนนอน ปริมาณผลผลิต (Q) EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 44

45 ตารางรายรับประเภทต่างๆ (กรณีราคาไม่คงที่ : ตลาดแข่งขันไม่สมบรูณ์)
P Q TR=PxQ AR=TR/Q MR= TR/ Q 11 - 10 1 9 2 ……. ……….. 8 3 24 6 7 4 28 5 30 -2 18 9x2 9 18 /2 8 (18-10) (2-1) EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 45

46 เส้นรายรับประเภทต่างๆ ตลาดแข่งขันไม่สมบรูณ์
TR สูงสุด 30 TR ระฆังคว่ำ AR ,MR มีความชันเป็นลบ MR มีความชันเป็น 2เท่าของ AR TR MR AR ปริมาณผลผลิต (Q) Q = 6 P = 5 Q MR =0 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

47 กำไรทางบัญชีและกำไรทางเศรษฐศาสตร์
กำไรทางบัญชี = รายรับรวม – ต้นทุนทางบัญชี ต้นทุนทางบัญชี = ต้นทุนชัดแจ้ง กำไรทางเศรษฐศาสตร์ = รายรับรวม– ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ = ต้นทุนชัดแจ้ง + ต้นทุนไม่ชัดแจ้ง ต้นทุนไม่ชัดแจ้ง = ค่าเสียโอกาส EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 47

48 กำไรทางเศรษฐศาสตร์ = รายรับรวม – ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ = TR - TC
กำไรทางเศรษฐศาสตร์ เท่ากับ 0 เรียกว่าได้ กำไรปกติ (normal profit) กำไรทางเศรษฐศาสตร์ มากกว่า 0 เรียกว่าได้ กำไรเกินปกติ (abnormal profit = economic profit) กำไรทางเศรษฐศาสตร์ น้อยกว่า 0 เรียกว่าได้ ขาดทุนทางเศรษฐศาสตร์(economic loss) TR = TC TR > TC TR < TC EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 48

49 เงื่อนไขของกำไรสูงสุด
ต้นทุน รายรับ กำไรรวม กำไร = TR - TC ต้นทุนรวม (TC) a รายรับรวม (TR) b J ปริมาณผลผลิต (Q) Q2 Q1 Q3 กำไรรวม ช่วงที่ TR ห่างจาก TC มากที่สุด แสดงถึงกำไรสูงสุดนั้น slope ของ TR = slope ของ TC นั่นคือ MR = MC EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 49

50 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
ทดสอบ ลาออกจากที่ทำงานเดิม(เงินเดือน 7,000 บาท) มาทำธุรกิจส่วนตัว มีค่าใช้จ่ายคือ -ค่าน้ำค่าไฟ = 2,000 บาท - ค่าวัตถุดิบ = 7,000 บาท -ค่าเช่าสำนักงาน = 30,000 บาท -ค่าจ้างพนักงาน = 100,000 บาท จงหา 1. ต้นทุนค่าเสียโอกาส = ………………………………………………………. 2. ต้นทุนชัดแจ้ง = …………………………………………………………….. 3. ต้นทุนไม่ชัดแจ้ง = …………………………………………………………….. 7000 เงินเดือนเดิม 7000 ต้นทุนค่าเสียโอกาส EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 50

51 EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
ทดสอบ 4. ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ =………………………………………………………. 5. ต้นทุนทางบัญชี = …………………………………………………………….. 6. ถ้ามีรายรับ 146,000 บาท กำไรทางบัญชี = …………………… กำไรทางเศรษฐศาสตร์ = …………………… 7. ถ้ามีรายรับ 200,000 บาท  (2)+(3) = =ต้นทุนเอกชน ข้อ 2 = ต้นทุนชัดแจ้ง 7000  กำไรปกติ = 0 คือผลิตคุ้มทุน 61000  54000  = กำไรเกินปกติ หรือมีกำไรทางเศรษฐศาสตร์ EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 51


ดาวน์โหลด ppt EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google