งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
บทที่ 10 ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข

2 ภาวะเงินเฟ้อ ( Inflation )
หมายถึงภาวะที่ระดับราคาสินค้าและบริการ โดยเฉลี่ยทั่วไปสูงขึ้นเรื่อยๆอย่างต่อเนื่อง วัดจาก Consumer Price Index : CPI (ดัชนีราคาขายปลีกหรือดัชนีราคาผู้บริโภค) 2. Wholesale Price Index : WPI (ดัชนีราคาขายส่ง) 3.GDP deflator

3 สูตรคำนวณ เช่นถ้าปี 2552 มีอัตราเงินเฟ้อ 3 %
อัตราเงินเฟ้อ = ระดับราคาปีนี้ – ระดับราคาปีก่อน ระดับราคาปีก่อน X 100 เช่นถ้าปี 2552 มีอัตราเงินเฟ้อ 3 % แสดงว่าปี 2552 มีดัชนีราคาผู้บริโภคสูงกว่าปี 2551 อยู่ 3%

4 ขนาด ( ระดับ ) ของภาวะเงินเฟ้อ
1. เงินเฟ้ออย่างอ่อน * ราคาสินค้าและบริการเพิ่มสูงขึ้นอย่างช้าๆ * จูงใจให้ผู้ผลิตขยายการผลิต * โดยทั่วไปถือว่าเป็นสถานการณ์ปกติ เป็นบรรยากาศที่ดี 2. เงินเฟ้ออย่างรุนแรง *ระดับราคาสินค้าและบริการสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว *ประชาชนเดือดร้อนจากค่าครองชีพที่สูงขึ้น *เกิดผลเสียต่อระบบเศรษฐกิจ

5 ชนิดของเงินเฟ้อ(แยกตามสาเหตุ)
เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปสงค์ เรียกอุปสงค์ฉุด (Demand Pull Inflation) เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปทาน เรียกต้นทุนผลัก (Cost push Inflation)

6 1. เงินเฟ้อจากอุปสงค์ฉุด
สาเหตุ อุปสงค์มวลรวม(AD)เพิ่มขึ้น แต่อุปทานมวลรวม(AS)คงที่ คือเกิดอุปสงค์ส่วนเกิน เพราะ การเพิ่มขึ้นของปริมาณเงิน การเพิ่มขึ้นของการใช้จ่ายรัฐบาล การเพิ่มขึ้นของการส่งออก

7 M  คนมีอำนาจซื้อ,ใช้จ่าย  AD   P 
ส่งผลโดยตรง M  คนมีอำนาจซื้อ,ใช้จ่าย  AD   P  ส่งผลทางอ้อม M  r   I   AD   P  AD = C + I + G + ( X-M)     

8 1. เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปสงค์
ก.เงินเฟ้อที่เกิดจากอุปสงค์ฉุด P AS เงินเฟ้อรุนแรง P4 3 AD4 P3 AD3 P2 2 1 เงินเฟ้อ แบบอ่อนๆ P1 AD2 AD1 AD0 Y Yf

9 1. เงินเฟ้อจากอุปสงค์ฉุด
ผลจากรูป ราคาสินค้าสูงขึ้น จนเกิดภาวะเงินเฟ้อ 2 ช่วงคือ ถ้าการผลิตอยู่ต่ำกว่าระดับการจ้างงานเต็มที่ จะทำให้ราคาสินค้าเพิ่มไม่มากนักเพราะปริมาณสินค้าเพิ่มขึ้นด้วย เรียกเงินเฟ้อแบบอ่อนๆ ถ้าอยู่ภาวะระดับการจ้างงานเต็มที่ จะทำให้ราคาสินค้าเพิ่มมากเพราะมีการใช้ปัจจัยการผลิตเต็มที่แล้ว การผลิตสินค้าจึงเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ทำให้สินค้าขาดแคลนเรียกเงินเฟ้อที่แท้จริงหรือเงินเฟ้อรุนแรง

10 2. เงินเฟ้อจากต้นทุนผลัก
อุปทานมวลรวม(AS)ลดลง แต่อุปสงค์มวลรวม(AD)คงที่ คือเกิดอุปสงค์ส่วนเกิน สาเหตุ หลักการ ผู้ผลิตมีต้นทุนลดการผลิตAS Pเงินเฟ้อ

11 ผู้ผลิตต้องการกำไร  ตั้งราคาไว้สูงขึ้น
สาเหตุที่ต้นทุนสูงขึ้น เงินเฟ้อเพราะค่าจ้างที่เป็นตัวเงินสูงขึ้น หรือราคาปัจจัยการผลิตสูงขึ้น การที่ค่าครองชีพ แรงงานขอขึ้นค่าจ้างต้นทุน ข. เงินเฟ้อเพราะผู้ผลิตต้องการกำไรมากขึ้น ผู้ผลิตต้องการกำไร  ตั้งราคาไว้สูงขึ้น

12 2. เงินเฟ้อจากต้นทุนเพิ่ม
AS ราคา E3 P3 AS3 E2 P2 E1 P1 AD AS2 AS1 ผลผลิต Q3 Q2 Qf

13 ผลกระทบของเงินเฟ้อ ผู้ได้รับประโยชน์ - พ่อค้านักธุรกิจ - ลูกหนี้
1. ผลกระทบต่อการกระจายรายได้ ไม่เป็นธรรม ผู้ได้รับประโยชน์ - พ่อค้านักธุรกิจ - ลูกหนี้ - นักเก็งกำไร ผู้เสียประโยชน์ - ผู้มีรายได้ประจำเช่นข้าราชการ - ผู้มีค่าจ้างรายวัน - เจ้าหนี้

14 ผลกระทบของเงินเฟ้อ ผลคือ -การส่งออกน้อยลง -การนำเข้าสูงขึ้น
2. ผลทางด้านดุลการชำระเงิน การที่ราคาในประเทศสูงราคาส่งออกสูงแข่งขันในตลาดโลกไม่ได้ สนใจซื้อสินค้านำเข้าที่มีราคาถูกกว่ามากขึ้น ผลคือ -การส่งออกน้อยลง -การนำเข้าสูงขึ้น -ดุลการค้ามีแนวโน้มขาดดุล -ดุลการชำระเงินอาจขาดดุล -ค่าเงินในประเทศอ่อนตัวลง

15 ส่งผลเสียต่อระบบเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเงินเฟ้อ 3. ผลกระทบต่อการผลิตและการลงทุน เงินเฟ้ออย่างอ่อน(ภาวะต่ำกว่าการจ้างงานเต็มที่) ถือว่าดีเพราะผู้ผลิตจะเกิดแรงจูงใจในการขยายการผลิต เงินเฟ้อรุนแรง(ภาวะการจ้างงานเต็มที่) -ค่าเงินลดลง(รายได้ที่แท้จริงหรืออำนาจซื้อลดลง) -เงินไม่ได้ทำหน้าที่เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน และอาจเข้าสู่ระบบใช้ของแลกของ -ประชาชนขาดความเชื่อมั่นในการถือเงินสด สะสมสินทรัพย์อื่น -เงินออมของประเทศลดลง -การลงทุนจะลดลง ,การจ้างงานลดลง ส่งผลเสียต่อระบบเศรษฐกิจ

16 การเก็บภาษีมีแนวโน้มเก็บได้มากขึ้น
ผลกระทบของเงินเฟ้อ 4. ผลกระทบต่อรายได้และรายจ่ายของรัฐบาล การเก็บภาษีมีแนวโน้มเก็บได้มากขึ้น (รายได้ประชาชนสูงขึ้นจากการขยายการผลิตและจ้างงาน) (กรณีเงินเฟ้ออย่างอ่อน) -รัฐมีรายจ่ายน้อยลง ได้ประโยชน์ในฐานะที่รัฐบาลเป็นลูกหนี้

17 การแก้ไขภาวะเงินเฟ้อ
ต้องทำให้AD  การแก้ไขภาวะเงินเฟ้อ 1. นโยบายการเงินแบบเข้มงวด (Restrictive Monetary Policy) * เพื่อลดปริมาณเงิน * โดย : ขายพันธบัตร, เพิ่มอัตราเงินสดสำรองตามกฎหมาย เพิ่มอัตราดอกเบี้ย , เพิ่มอัตราซื้อลด 2. นโยบายการคลังแบบเกินดุลหรือหดตัว (contractionary fiscal policy) 2.1 ลดการใช้จ่ายของรัฐ 2.2 เพิ่มภาษี

18 ภาวะการค้าและธุรกิจฝืดเคือง จนต้องเลิกกิจการ
ภาวะเงินฝืด ( Deflation) หมายถึง ภาวะที่ระดับราคาสินค้าและบริการโดยทั่วไป ลดลงเรื่อยๆอย่างต่อเนื่อง สาเหตุ - การขาดกำลังซื้อที่เพียงพอ - การผลิตสินค้าและบริการที่มากเกินความต้องการ เกิดอุปทานส่วนเกิน คือ AD < AS AD ต่ำ ผู้ผลิตลดราคาลดการผลิตเกิดการว่างงาน ภาวะการค้าและธุรกิจฝืดเคือง จนต้องเลิกกิจการ

19 การแก้ไขภาวะเงินฝืด ต้องทำให้AD (expansionary monetary policy ) เช่น
1.ใช้นโยบายการเงิน แบบขยายตัว (expansionary monetary policy ) เช่น -ซื้อพันธบัตร -ลดอัตราเงินสดสำรอง -ลดอัตราดอกเบี้ย -ลดอัตราซื้อลด -ธ.พ.ปล่อยสินเชื่อมากขึ้น เพิ่มปริมาณเงิน 2. ใช้นโยบายการ คลังแบบขาดดุล ( deficit budget ) เช่นเพิ่มการใช้จ่ายของ รัฐและลดเก็บภาษี ผลกระทบ ( ตรงข้ามกับกรณีภาวะเงินเฟ้อ)

20 ปัญหาการว่างงาน ( Unemployment )
การว่างงาน หมายถึง ภาวะที่บุคคลที่อยู่ในวัยแรงงาน ( อายุ13 ปีขึ้นไป ) มีความสามารถและมีความเต็มใจทำงาน แต่กลับไม่สามารถที่จะหางานทำได้ เราเรียกการว่างงานในกรณี นี้ว่า การว่างงานโดยไม่สมัครใจ (Involuntary unemployment) ส่วนการว่างงานในกรณีที่สมัครใจไม่ทำงาน หรือรองานที่ ต้องการ ปฏิเสธการทำงานที่ต่ำกว่าความรู้ความสามารถ เรียกว่า การว่างงานโดยสมัครใจ(Voluntary unemployment)

21 ประเภทของการว่างงาน การว่างงานโดยเปิดเผย(open unemployment)
การว่างงานแอบแฝง( Disguised unemployment)

22 ประเภทของการว่างงาน การว่างงานโดยเปิดเผย(open employment)
1. การว่างงานชั่วคราวด้วยเหตุต่างๆ (Frictional unemployment) เช่น รอบรรจุงาน ,รอเปลี่ยนงาน , โยกย้ายภูมิลำเนา รวมถึงการขาดข้อมูลข่าวสาร 2.การว่างงานตามฤดูกาล ( Seasonal unemployment) เช่น เกษตรกร , คนงานก่อสร้าง 3. การว่างงานเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ ( Structural unemployment) เช่น เปลี่ยนกรรมวิธีการผลิต , เปลี่ยนรสนิยม

23 ประเภทของการว่างงาน ( Technological unemployment)
4. การว่างงานเนื่องจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ( Technological unemployment) เช่น ใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ มีการนำเครื่องจักรมาใช้แทนคน 5. การว่างงานเนื่องจากวัฏจักรเศรษฐกิจ ( Cyclical unemployment) เช่น ภาวะเศรษฐกิจถดถอย ตกต่ำ(การลงทุนลด,ว่างงานมาก)

24 การว่างงานแอบแฝง หมายถึงภาวะที่บุคคลนั้นทำงานอยู่
แต่ทำงานต่ำกว่าระดับความรู้ความสามารถ หรือมีชั่วโมงการทำงานน้อยเกินไป

25 ผลกระทบของการว่างงาน
รายได้ประชาชาติ การออม การบริโภคและ การลงทุน     2. การกระจายรายได้ ไม่ทั่วถึง,มีหนี้สินมาก,เหลื่อมล้ำของรายได้ 3. งบประมาณของรัฐ รายได้จากการเก็บภาษี รัฐช่วยเหลือคนว่างงาน T G ขาดดุลงบประมาณมากขึ้น 4. สังคมและการเมือง เกิดปัญหาสังคม,การเมืองผันผวน

26 การแก้ไขปัญหาการว่างงาน
1. ลดการว่างงานชั่วคราว โดย : ให้ข้อมูลข่าวสาร จัดนัดพบแรงงาน 2. ลดการว่างงานตามฤดูกาล โดย : จัดสิ่งอำนวยความสะดวกให้สามารถประกอบ อาชีพได้ตลอดปี ส่งเสริมอาชีพ 3. ลดการว่างงานที่เกิดจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดย : อบรม พัฒนาทักษะแรงงานให้สามารถรองรับ เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปได้ 4. ลดการว่างงานที่เกิดจากอุปสงค์รวมน้อยเกินไป เช่นช่วงเศรษฐกิจซบเซา โดย :ใช้นโยบายเงินและคลังขยายตัว กระตุ้นเศรษฐกิจ


ดาวน์โหลด ppt ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google