งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทิศทางการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทิศทางการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทิศทางการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการ กพฐ.

2 ประเด็นที่บรรยาย ภาพอนาคต ผลการทดสอบ O-NET การพัฒนาโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเตรียมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก

3 ภาพลักษณ์การศึกษาขั้นพื้นฐานในอนาคต
ภาพลักษณ์เป็นสิ่งที่มีความสำคัญ เป็นเครื่องมือในการช่วยกำหนดทิศทาง การดำเนินงานในอนาคตได้อย่างชัดเจน ทำให้เกิดความเข้าใจในงาน และแนวทาง การดำเนินงานที่ชัดเจน จากการประมวลความคิดเห็นของคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ชุดที่ ๒ พบว่า ภาพลักษณ์การศึกษาขั้นพื้นฐานในอนาคต ควรประกอบด้วย ๑) ภาพลักษณ์นักเรียน ๒) ภาพลักษณ์หลักสูตรการศึกษา ๓) ภาพลักษณ์สถานศึกษา ๔) ภาพลักษณ์การบริหารจัดการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา/สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๕) ภาพลักษณ์ครูและบุคลากรทางการศึกษา

4 1. ภาพลักษณ์นักเรียน ภาพลักษณ์นักเรียน : ตั้งมั่นในคุณธรรม มุ่งมั่นพัฒนาความรู้ ใจมั่นคงเป็นสุข ยึดมั่นความเป็นไทย ก้าวมั่นสู่อนาคต เก่ง : มุ่งมั่นพัฒนาความรู้ โดยมีทักษะความรู้พื้นฐานที่จำเป็นในการประกอบอาชีพ และทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีนิสัย ใฝ่เรียนรู้ เรียนรู้ด้วยตัวเอง และแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต มีความสามารถในการสื่อสาร คิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา คิดริเริ่มสร้างสรรค์ ดี : ตั้งมั่นในคุณธรรม โดยมีจิตสาธารณะ มีระเบียบวินัย คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม ทำงานเป็นกลุ่มได้อย่างเป็นกัลยาณมิตร มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม รังเกียจการทุจริตทุกระดับ และต่อต้านการซื้อสิทธิ์ ขายเสียง

5 1. ภาพลักษณ์นักเรียน (ต่อ)
มีสุข : ใจมั่นคงเป็นสุข โดยมีสุขภาพกาย สุขภาพใจที่สมบูรณ์ แข็งแรง ความเป็นไทย : ยึดมั่นความเป็นไทย โดยมีจิตสำนึกและความภูมิใจในความเป็นไทย ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เทคโนโลยี : ก้าวมั่นสู่อนาคต โดยใช้ภาษาอย่างน้อยสองภาษา ใช้เทคโนโลยี อย่างเท่าทัน พร้อมสู่ประชาคมอาเซียน

6 2. ภาพลักษณ์หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หลักสูตรที่ตอบสนองต่อศักยภาพของนักเรียนอย่างแท้จริง เน้นทักษะการคิดวิเคราะห์ เน้นการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม หน้าที่พลเมือง และความเป็นไทย หลักสูตรมีความเหมาะสมกับท้องถิ่น และพร้อมสู่สากล หลักสูตรสามารถนำไปสู่อาชีพได้จริง

7 3. ภาพลักษณ์ของครูและบุคลากรทางการศึกษา
เป็นผู้เอื้ออำนวยให้เกิดการเรียนรู้ บริหารและจัดการศึกษา เป็นคนเก่งมีความรู้ในวิชาชีพของตนเอง พร้อมพัฒนาตนเอง แสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง เป็นคนดี มีจิตสำนึก มีใจพร้อมให้บริการ

8 3. ภาพลักษณ์ของครูและบุคลากรทางการศึกษา (ต่อ)
ทำงานด้วยความทุ่มเท เสียสละ และปฏิบัติงานตามหน้าที่ เต็มเวลา เต็มความสามารถ ใช้ทักษะการสื่อสารทางบวก เสริมแรง รับฟัง ตอบรับการฟัง ให้กำลังใจ มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี พร้อมรับในการเปลี่ยนแปลง ดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ภูมิใจ ในความเป็นไทย

9 4. ภาพลักษณ์ของสถานศึกษา
เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพอย่างยั่งยืน มีโครงสร้างพื้นฐานที่พร้อมต่อการจัดการศึกษา มีบรรยากาศสภาพแวดล้อมให้น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน มีนวัตกรรมและเทคโนโลยีสู่การเรียนการสอน

10 4. ภาพลักษณ์ของสถานศึกษา (ต่อ)
มีทรัพยากรทางการจัดการศึกษา และการบริหารการศึกษา อย่างเพียงพอ เป็นแบบอย่างในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ชุมชนภาคภูมิใจ และมีส่วนร่วมจัดการศึกษา มีจำนวนครู และบุคลากรทางการศึกษาอย่างเพียงพอตามเกณฑ์

11 5. ภาพลักษณ์ของการบริหารจัดการของ สพท. / สพฐ.
มีโครงสร้างพื้นฐานที่พร้อมในการปฏิบัติงานและให้บริการ มีบุคลากรพอเพียงมีความรู้ความสามารถ และเต็มใจบริการ มีการกระจายอำนาจ และบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล (ยึดหลักนิติธรรม คุณธรรม โปร่งใส การมีส่วนร่วม ความรับผิดชอบ ความคุ้มค่า) ส่งเสริมการปฏิบัติงานเชิงบูรณาการระหว่างใน และนอกหน่วยงาน และต่างกระทรวง

12 5. ภาพลักษณ์ของการบริหารจัดการของ สพท. / สพฐ. (ต่อ)
ใช้เทคโนโลยีบริหารจัดการอย่างที่มีประสิทธิภาพ ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า และรักษ์สิ่งแวดล้อม เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา มีการพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพมาตรฐาน

13 ผลการทดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2554 สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

14 ผล O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ใน 3 ปีการศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวม ภาษาไทย คณิต วิทย์ สังคมฯ อังกฤษ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 2552 38.58 35.88 38.67 33.90 31.75 64.76 42.49 51.69 42.22 2553 31.22 34.85 41.56 47.07 20.99 54.31 41.10 52.52 40.45 2554 49.51 51.08 37.12 58.17 46.20 54.45 48.58

15 ผล O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ใน 3 ปีการศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวม ภาษาไทย คณิต วิทย์ สังคมฯ อังกฤษ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 2552 35.35 26.05 29.16 39.70 22.54 56.70 32.95 33.86 34.54 2553 42.80 24.18 29.17 40.85 16.19 71.97 28.48 47.07 37.59 2554 48.35 32.19 32.28 42.88 30.13 51.16 43.61 47.59 41.02

16 ผล O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ใน 3 ปีการศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวม ภาษาไทย คณิต วิทย์ สังคมฯ อังกฤษ สุขศึกษา ศิลปะ การงาน 2552 46.47 28.56 29.06 36.00 23.98 45.37 37.75 32.98 35.02 2553 42.61 14.99 30.90 46.51 19.22 62.86 32.62 43.69 36.68 2554 42.12 22.53 27.89 33.40 21.34 54.92 28.65 49.21 35.01

17 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม คะแนนเฉลี่ยร้อยละ (ระดับประเทศ)
ค่าสถิติพื้นฐานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ช่วงชั้นที่ 2 (ประถมศึกษาปีที่ 6) ปีการศึกษา 2554 รายการ ภาษาไทย สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ รวม จำนวนโรงเรียนที่สอบ 28,290 จำนวนผู้เข้าสอบ 543,748 543,734 543,815 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ (ระดับประเทศ) 50.04 52.22 38.37 52.40 40.82 49.36 Percentile Rank ที่ 70 53.33 55.23 40.74 58.46 43.59 53.00

18 ผล O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ใน 3 ปีการศึกษา
50 70

19 การพัฒนาโรงเรียนมาตรฐานสากล

20 FIVE STEPS FOR STUDENT DEVELOPMENT
PUBLIC SERVICE EFFECTIVE COMMUNICATION KNOWLEDGE FORMATION KNOWLEDGE SEARCHING HYPOTHESIS FORMULATION Learning to serve Learning to communicate Learning to construct Learning to search Learning to question

21 การเตรียมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก

22 ยุทธศาสตร์ สพฐ. 2556-2560 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์รองรับประชาคมอาเซียน
1. ยกระดับคุณภาพการเรียนตามหลักสูตรฯ 3. กำหนดมาตรฐานคุณภาพผู้เรียนที่สอดคล้องกับ 8 กลุ่มวิชา โดยเน้นวิทย์/คณิต/สังคมศึกษา อาเซียนและศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะการศึกษา 2. จัดการเรียนการสอนหลักสูตรร่วมอาเซียนโดย ภาคบังคับ เพื่อประกอบอาชีพในตลาดแรงงาน บูรณาการกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4. เพิ่มความเข้มแข็ง/จัดตั้งศูนย์อาเซียนศึกษาในร.ร. 1 พัฒนาองค์ความรู้/ทักษะ/คุณลักษณะที่สำคัญ (วิทยาศาสตร์/คณิตศาสตร์/สังคมศาสตร์) 2 พัฒนาศักยภาพด้านภาษา(ไทย/อังกฤษ/ อาเซียน และภาษา ตปท. คู่ค้า) 3 พัฒนาบุคลากรทุกฝ่าย ผู้บริหาร (สพป./ สพม./ร.ร.) ครู และบุคลากรทางการศึกษา 4 เพิ่มขีดความสามารถในการใช้ ICT ในการเรียน-การสอน 5. พัฒนาโครงการความร่วมมือในอาเซียน (ระดับบริหาร/นักปฏิบัติ/นร.) ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษา ตปท. อื่นๆ 1. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ และแก้ปัญหาการ อ่านออกเขียนได้ 2. พัฒนายกระดับ คุณภาพครูและ บุคลากรที่เกี่ยวข้อง 3. ส่งเสริมการมีส่วน ร่วมขององค์กร ภาครัฐและเอกชน ฝึกทักษะการสื่อสารของนร./นศ./ครู/ บุคลากรทางการศึกษา 2. พัฒนาศักยภาพครู/จัดหาครูเจ้าของภาษา 3. พัฒนาการเรียนการสอนในและนอกระบบ ร.ร./พัฒนาสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ 4. ส่งเสริมการเรียนวิชาต่างๆด้วยภาษาอังกฤษ 5. สร้างเครือข่ายทั้งในและตปท. 6. กำหนดให้ภาษาอังกฤษใช่ในการสำเร็จ การศึกษา/เข้าสู่อาชีพ/เลื่อนระดับ 1. พัฒนาการเรียนการสอน ภาษาจีน ญี่ปุ่น เกาหลี และ ภาษาอาเซียน 2. พัฒนา/สร้างครูไทย./จัดหาครู เจ้าของภาษา 3. พัฒนาและส่งเสริมผู้เรียนให้ แสดงความสามารถทางภาษา ในเวทีสาธารณะทั้งในและตปท. 1. พัฒนาบุคลากรให้มีทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21 2. พัฒนาบุคลากรให้รอบรู้และติดตามความเคลื่อนไหวของอาเซียนและสังคมโลก 3. ใช้คุณสมบัติ 1-2 ประกอบการพิจารณาให้รางวัล/เลื่อนระดับ 1. พัฒนาhardware/software/people-ware 2. ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน/เชื่อมโยงความรู้สากลด้วย ICT 3. ผลิตและส่งเสริมการใช้สื่อความรู้ระบบ digital และ e-learning 1. สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับสถาบันและ ด้วยโครงการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ หน่วยงานทั้งในและนอกอาเซียน 3. ส่งเสริมกิจกรรมที่สร้างโอกาสให้ นร./ครูได้ 2. พัฒนาภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหาร/ครู/นร. แสดงศักยภาพในเวทีระหว่างประเทศ พัฒนางานวิจัยเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 1. ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน (ระดับโรงเรียน/ พื้นที่/) 2. ประสานและจัดทำข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับทุนวิจัยที่เกี่ยวกับอาเซียน 6. 1. จัดตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน 3. สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ (ระดับสพฐ. และพื้นที่ ) 4. ประสานและจัดทำข้อมูลต่างๆ 2. พัฒนาวิทยากรแกนนำด้าน ASEAN / 5. ASEAN Watch – กำกับติดตาม วิจัย และพัฒนา พัฒนาบุคลากรด้านต่างๆ จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการอาเซียน 7. 6. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์รองรับประชาคมอาเซียน

23 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จุดเน้นปี 2556 มุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่สากล (Raise the Bar) มุ่งลดช่องว่างทางการศึกษา (Fill the Gap) ครูมีศักยภาพอย่างสูงด้านการจัดการเรียนรู้ สพท.ปฏิบัติงาน ตามบทบาทหน้าที่อย่างเข้มแข็ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน


ดาวน์โหลด ppt ทิศทางการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google