งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่17 หลักการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่17 หลักการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่17 หลักการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน

2 หลักการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน
2 2

3 การวินิจฉัยคดีในชั้นศาลประกอบด้วย
1. การ วินิจฉัย ปัญหา ข้อเท็จจริง 2. การ วินิจฉัย ปัญหาข้อ กฎหมาย 3 3 3

4 การวินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริง การวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมาย
ต้องวินิจฉัยด้วยพยานหลักฐาน การวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมาย ต้องวินิจฉัยด้วยหลักกฎหมาย 4 4 4

5 สิ่งที่พิสูจน์ว่ามีข้อเท็จจริงหนึ่งข้อเท็จจริงใด
พยานหลักฐานคืออะไร ? สิ่งที่พิสูจน์ว่ามีข้อเท็จจริงหนึ่งข้อเท็จจริงใด ที่เกิดขึ้น 5 5 5

6 การชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน
เป็นขั้นตอนของการวินิจฉัยข้อเท็จจริงที่โต้แย้งกันด้วย พยานหลักฐาน ดังนั้น เมื่อใดที่เป็นดุลพินิจของศาลในการวินิจฉัย พยานหลักฐานย่อมถือว่าเป็นเรื่องที่ศาลวินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริง จึงอาจสรุปได้ว่า ปัญหาข้อเท็จจริงเป็นปัญหาที่จะต้องวินิจฉัยจาก พยานหลักฐาน 6 6

7 ข้อสังเกตเกี่ยวกับการทำคำพิพากษา
ตามกฎหมายไทยคำพิพากษาของศาลจะต้องแสดงเหตุผลของ คำวินิจฉัย ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 141 และ ป.วิ.อ. มาตรา 186 คำพิพากษาของศาลในเรื่องการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน ย่อมถูกตรวจสอบได้จาก ผลก็คือ คู่ความ ศาลสูง สังคม 7 7 7

8 เกณฑ์มาตรฐาน ของระดับการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน
- พิสูจน์ปราศจากข้อสงสัยตามสมควร (PROOF BEYOND REASONABLE DOUBTS) - ชัดแจ้งและน่าเชื่อถือ (CLEAR AND CONVINCING) - น้ำหนักที่น่าเชื่อถือกว่า (PREPONDERANCE) - มีมูลแห่งความเชื่อถือ (PRIMA FACIE) 8 8 8

9 หลักการชั่งน้ำหนักพยานบุคคล
ความน่าเชื่อถือ (CREDIBILITY) ของคำเบิกความ (TESTIMONY) ของพยานบุคคลที่เบิกความต่อศาล โดย 1. การทดสอบความมั่นคง (INTEGRITY) คำให้การในครั้งก่อนๆ (PRIOR STATEMENT) ตรงกัน หรือ ขัดแย้งกัน 9 9

10 2. การชั่งน้ำหนักความน่าเชื่อถือ (WEIGHTING)  การรับรู้ (PERCEPTION)
 ความจำ (MEMORY)  การถ่ายทอด (NARRATION)  อคติ (PREJUDICE OR BIAS) 10 10

11 ปัญหาบางประการในการชั่งน้ำหนักพยานบุคคล
พยานโดยตรง (DIRECT) กับ พยานแวดล้อมกรณี (CIRCUMSTANCE) ประจักษ์พยาน กับ พยานบอกเล่า พยานบุคคลที่มีน้ำหนักน้อย (ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 227/1)  พยานบอกเล่า  คำซัดทอด  พยานที่โจทก์กันไว้ (STATE WITNESS)  พยานบุคคลที่เบิกความไม่ครบกระบวนการซักถาม  คำให้การของพยานบุคคลที่ไม่ได้มาเบิกความในชั้นศาล 11 11

12 หลักการชั่งน้ำหนักพยานเอกสาร
การมีอยู่และความถูกต้องแท้จริงของเอกสาร (AUTHENTICATION) (ดู ป.วิ.พ. มาตรา 122 – 127 ทวิ) มาตรา 125 ไม่ตัดอำนาจศาลในเรื่องการชี้ขาดการมี อยู่ และความถูกต้องแท้จริง 12 12

13 หลักการชั่งน้ำหนักพยานวัตถุ ความถูกต้องแท้จริงและการเก็บรักษา
(CHAIN OF CUSTODY) 13 13

14 หลักการชั่งน้ำหนักพยานผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบเรื่องความรู้เชี่ยวชาญของ
พยานประเภทนี้ด้วย 14 14

15 หลักการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานประเภท สื่ออิเล็กทรอนิกส์
ความน่าเชื่อถือของลักษณะ หรือ วิธีการที่ใช้ สร้าง เก็บ รักษา หรือ สื่อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ลักษณะ หรือวิธีการ รักษา ความครบถ้วนและไม่มีการเปลี่ยนแปลงของข้อความ ลักษณะ หรือวิธีการที่ใช้ในการระบุหรือแสดงตัวผู้ส่งข้อมูล รวมทั้งพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องทั้งปวง ที่มา : พ.ร.บ. ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ (มาตรา 11 วรรคสอง) 15 15


ดาวน์โหลด ppt บทที่17 หลักการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google