งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยใช้กระบวนการพัฒนา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยใช้กระบวนการพัฒนา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยใช้กระบวนการพัฒนา
โครงการพัฒนา การส่งเสริม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยใช้กระบวนการพัฒนา อย่างสร้างสรรค์

2 หอผู้ป่วยสูติกรรม งานการพยาบาลผู้ป่วยสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา
โครงการพัฒนาการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่โดยใช้กระบวนการพัฒนาอย่างสร้างสรรค์ หอผู้ป่วยสูติกรรม งานการพยาบาลผู้ป่วยสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

3 รายชื่อคณะกรรมการ ประธาน นางวาสนา หาญป่า
ประธาน นางวาสนา หาญป่า เลขานุการ นางชัชฎาภรณ์ นันทขว้าง ผู้ช่วยเลขานุการ นางสาวรัตติกาล อภิวงค์งาม คณะกรรมการ นางสาววาสนา วอนเพียร นางลัดดาวัลย์ สุขแสวง นางพิมพรรณ คงตาดำ นางสาววันเพ็ญ ตนซื่อ นางสุธรรมมา เกตุแก้ว ที่ปรึกษา นางจงรักษ์ ชลานันต์ นางสาวศิริพร ศรีสวัสดิ์ นางพิกุล ทรัพย์พันแสน นางศรีเวียง ชุ่มปัน

4 ความเป็นมาและความสำคัญของการจัดตั้งโครงการ(1)
บริบทของหอผู้ป่วยสูติกรรม Exclusive breastfeeding คู่มือ โครงการและแนวทางการปฏิบัติในเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ คณะกรรมการการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โครงการพัฒนาการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยใช้การพัฒนาอย่างสร้างสรรค์

5 ความเป็นมาและความสำคัญของการจัดตั้งโครงการ(2)
กระบวนการกลุ่ม การระดมสมอง องค์กรเป็นองค์กรที่มีชีวิตมีความสุขทั้งผู้ให้บริการและผู้รับบริการ

6 การประชุมครั้งที่ 1 วันที่ 3 สิงหาคม 2549
วิธีการแก้ไขเพื่อให้การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ประสบผลสำเร็จ โดยประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ทางการพยาบาลที่ปฏิบัติงาน ทั้งเวรเช้า เวรบ่าย เวรดึก ร่วมระดมสมองเรื่องปัญหาที่พบในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ พบว่าเกิดจากปัจจัยด้านมารดา ทารก และบุคลากร

7 ปัจจัยด้านมารดา

8 ปัจจัยด้านทารก

9 ปัจจัยด้านบุคคลากร จำนวนบุคลากร ทัศนคติของบุคลากร

10 ประชุมครั้งที่ 2 วันที่ 10 สิงหาคม 2549
ประชุมครั้งที่ 2 วันที่ 10 สิงหาคม 2549 การวิเคราะห์หาสาเหตุที่บุคลากรและมารดายังไม่ตระหนักถึงความสำคัญในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เท่าที่ควร

11 วิธีการแก้ไขด้านบุคลากร
การมอบหมายงาน การส่งต่อรายที่มีปัญหา ทบทวนความรู้แก่บุคลากร การประเมิน competency Empowerment

12 วิธีการแก้ไขด้านมารดา
ให้ข้อมูลกับมารดาเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพิ่มทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ วางแผนร่วมกับมารดา โครงการคลอดคุณภาพ

13 การประชุมครั้งที่ 3 วันที่ 6 กันยายน 2549
การประชุมครั้งที่ 3 วันที่ 6 กันยายน 2549 ระดมสมอง เรื่อง สาเหตุของมารดาที่ยังไม่ ตระหนักถึงความสำคัญในการ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่เท่าที่ควร ขณะอยู่ในโรงพยาบาล หลังจำหน่ายจากโรงพยาบาล

14 การประชุมครั้งที่ 4 วันที่ 16 มีนาคม 2550
การประชุมครั้งที่ 4 วันที่ 16 มีนาคม 2550 จัดตั้งโครงการเสริมความมุ่งมั่น ของมารดาหลังคลอดเพื่อให้เลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ประสบผลสำเร็จถึง 6 เดือน โดยมีการติดตาม ระยะ 6 สัปดาห์ 4 เดือน และ 6 เดือน หลังคลอด

15 1. ระยะ 6 สัปดาห์หลังคลอด ผลการเก็บข้อมูล (1) ประเภท จำนวน ร้อยละ
นมแม่อย่างเดียว 105 34.88 นมแม่และน้ำ 110 36.54 นมแม่และนมผสม 76 25.24 นมผสม 8 2.65 นมแม่นมผสมและอาหารเสริม 2 0.69

16 2. ระยะ 4 เดือนหลังคลอด ผลการเก็บข้อมูล (2) ประเภท จำนวน ร้อยละ
นมแม่อย่างเดียว 32 21.05 นมแม่และน้ำ 49 32.23 นมแม่และนมผสม 34 22.36 นมผสม 24 15.78 นมแม่และน้ำและอาหารเสริม 7 4.60 นมแม่ นมผสมและอาหารเสริม 2 1.31 นมผสมและอาหารเสริม 4 2.63

17 3. ระยะ 6 เดือนหลังคลอด ผลการเก็บข้อมูล (3) ประเภท จำนวน ร้อยละ
นมแม่อย่างเดียว 14 17.28 นมแม่และน้ำ 3 3.7 นมแม่และนมผสม 1 1.23 นมผสม นมแม่และน้ำและอาหารเสริม 37 45.67 นมแม่ นมผสมและอาหารเสริม 16 19.75 นมผสมและอาหารเสริม 9 11.14

18 การประชุมครั้งที่ 5 วันที่ 31 ตุลาคม 2550
การประชุมครั้งที่ วันที่ 31 ตุลาคม 2550 สรุปผลการเก็บข้อมูล วิเคราะห์และหาแนวทางแก้ไข มีการติดตามทางโทรศัพท์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ทบทวนวรรณกรรมเรื่อง self efficacy ต่อระยะเวลา การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

19 ประโยชน์ของ โครงการพัฒนาการส่งเสริมการเลี้ยงลูก
บทสรุป ประโยชน์ของ โครงการพัฒนาการส่งเสริมการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่โดยใช้การพัฒนาอย่างสร้างสรรค์ บุคลากร ผู้ป่วย

20 Thank you for your attention


ดาวน์โหลด ppt การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยใช้กระบวนการพัฒนา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google