งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประยุกต์แผนที่ภูมิประเทศระบบดิจิตอล เป็นระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประยุกต์แผนที่ภูมิประเทศระบบดิจิตอล เป็นระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 การประยุกต์แผนที่ภูมิประเทศระบบดิจิตอล เป็นระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
โดย นาย ชัยศรี ชัชวรัตน์ นาย สุพัฒน์ อัครภูศักดิ์ นาย ประสงค์ เกียรติทรงพาณิช นางสาว จิตสุดา อินทุมาร สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา 2553

3 การประยุกต์แผนที่ภูมิประเทศระบบดิจิตอล เป็นระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

4 วัตถุประสงค์ เพื่อแสดงวิธีการผลิตแผนที่ภูมิประเทศระบบดิจิตอล
เพื่อแสดงการประยุกต์ใช้งานด้านแผนที่ระบบดิจิตอล เพื่อแสดงการประยุกต์ใช้งานด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อแสดงการประยุกต์ใช้งานด้านพื้นภูมิประเทศสามมิติ

5 ความเป็นมา ในปัจจุบันเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์และภูมิสารสนเทศ(GI) ได้พัฒนาก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว มีการประมวลผลและจัดทำสารสนเทศให้มีความถูกต้องสูงและรวดเร็วขึ้น จึงจำเป็นต้องมีการประยุกต์ วิธีปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี โดยยังคงดำรงรักษามาตรฐานการปฏิบัติงานไว้ - การทำเป็นแผนที่ระบบดิจิตอล สามารถสร้างชั้นข้อมูล(Layer)และแสดงความต่างด้วยสี(Color) - การทำระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) สามารถแสดงข้อมูลกราฟฟิก(Spatial Data) และข้อมูลอรรถาธิบาย(Attribute Data) สามารถแบ่งข้อมูลออกมาเป็นชั้นๆ สามารถค้นหา (Query) สามารถวิเคราะห์(Analyst) - พื้นภูมิประเทศสามมิติ สามารถวิเคราะห์ความสูง ความชัน ด้วยแถบสี (Thematic Map)ทิศทางการไหลของน้ำได้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างสูงต่อการทำงานด้านชลประทาน และด้านอื่นๆ

6 สรุปสาระและขั้นตอนการดำเนินการ
ภาคสนาม (ตามมาตรฐาน หลักการสำรวจและทำแผนที่ สรธ.) การสำรวจวงรอบและการสำรวจระดับเส้นฐาน การเก็บข้อมูลจุดระดับสูงและ รายละเอียดภูมิประเทศด้วยระบบดิจิตอล ภาคสำนักงาน การประมวลผล การพล็อตจุดระดับสูง การสร้างเส้นชั้นความสูงและการปรับปรุง การพล็อตรายละเอียดภูมิประเทศ การประกอบระวางแผนที่ การจัดทำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การจัดทำพื้นภูมิประเทศสามมิติ

7 รายละเอียดของผลงาน ชั้นข้อมูลต่างๆ นามสกุล .dwg
ชั้นข้อมูลต่างๆ นามสกุล .shp พื้นภูมิประเทศสามมิติ แบบราสเตอร์ นามสกุล .GRID

8 ประโยชน์ สามารถบริหารจัดการข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ
สามารถค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว สามารถช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล สามารถแสดงผลทางจอภาพได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน สามารถประยุกต์ใช้งานด้านกิจการชลประทานได้เป็นอย่างดี

9 แผนภูมิการปฏิบัติงาน แผนที่ภูมิประเทศระบบดิจิตอล
ขั้นตอนที่ 3 การจัดทำระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ และการประยุกต์ ขั้นตอนที่ 1 การเก็บข้อมูลสนาม - สำรวจวงรอบ และระดับ เส้นฐาน - เก็บรายละเอียดด้วยกล้อง Total Station การประยุกต์ : พื้นภูมิประเทศสามมิติ แผนที่ภูมิประเทศระบบดิจิตอล (Digital map)และการแบ่งชั้นข้อมูล ตกแต่งข้อมูล ประกอบระวาง แบบ T-1 ประมวลผล แปลงรูปแบบข้อมูล ด้วย Program Transit ขั้นตอนที่ 2 การประกอบระวางแผนที่ นำเข้าข้อมูลรายละเอียดภูมิประเทศด้วย โปรแกรม AutoCAD ประมวลผลสร้างเส้นชั้นความสูง โปรแกรม AutoCAD Land development

10 เครื่องมือและอุปกรณ์
กล้องวัดมุม Total Station พร้อมอุปกรณ์ กล้องวัดระดับ ชั้น 3 พร้อมอุปกรณ์ แผนที่ภาพถ่ายออร์โทสี (แบบกระดาษ และ ระบบดิจิตอล) เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ ขาว-ดำ ขนาด A0 โปรแกรม AutoCAD 2002 โปรแกรม ArcView GIS และโปรแกรมเสริม 3D Analyst Network Analyst และ Spatial Analyst

11 รังวัดด้วยกล้องวัดมุมระบบดิจิตอลที่ทันสมัย
แสดงผลการรังวัดในระบบ LCD บนหน้าจอ ทั้งสองหน้า สามารถเรียกดูข้อมูลที่ทำการบันทึกได้ที่ จอแสดงผลของตัวกล้อง ได้โดยตรงหรือจาก คอมพิวเตอร์เมื่อ Download ข้อมูลแล้ว สามารถจำแนกข้อมูลได้จากการรังวัดด้วย Code ที่เราสามารถกำหนดเองได้

12 ขั้นตอนที่ 1 การเก็บข้อมูลสนาม: สำรวจวงรอบเส้นฐาน
Sta.4 (หมุดสำรวจ) Sta.1 (หมุดหลักฐาน 1) Sta.2 (หมุดหลักฐาน 2) Sta.3(หมุดสำรวจ) Angle 2 Angle 1

13 ขั้นตอนที่ 1 การเก็บข้อมูลสนาม: สำรวจวงรอบเส้นฐาน
เกณฑ์งานชั้นที่ 3 Closure ≥ 1 : 5,000

14 ขั้นตอนที่ 1 การเก็บข้อมูลสนาม (ต่อ):การสำรวจระดับ เส้นฐาน
เกณฑ์งานชั้นที่ 3 12mm.√K เกณฑ์งานระดับชั้นที่ 3 = 12mm.√K = 12√ = ≥ m. (ค่าความผิดพลาดจากการรังวัดจริง น้อยกว่าเกณฑ์ถือว่าใช้ได้)

15 การสำรวจเก็บรายละเอียดด้วยกล้องวัดมุมระบบดิจิตอล
ขั้นตอนที่ 1 การเก็บข้อมูลสนาม (ต่อ): จุดระดับสูง และรายละเอียดภูมิประเทศด้วยกล้อง Total Station - Pt.1 Pt.2 ค่าทางเหนือ(N ) = 1,241, เมตร. ค่าทางตะวันออก(E) = 551, เมตร. ค่าระดับ(เหนือ รทก.) = เมตร. Pt.3 การสำรวจเก็บรายละเอียดด้วยกล้องวัดมุมระบบดิจิตอล

16 ขั้นตอนที่ 1 การเก็บข้อมูลสนาม (ต่อ): การ ประมวลผลด้วยโปรแกรม Transit

17 ขั้นตอนที่ 1 การเก็บข้อมูลสนาม (ต่อ): การพล๊อตจุดระดับสูงและการสร้าง เส้นชั้นความสูง
ก่อนการปรับแก้ ภายหลังการปรับแก้

18 ขั้นตอนที่ 2 การประกอบระวางแผนที่

19 ขั้นตอนที่ 2 การประกอบระวางแผนที่: การสร้างชั้นข้อมูลแผนที่
1. ชั้นข้อมูลที่ 1 จุดระดับสูง 2. ชั้นข้อมูลที่ 2 ถนนคอนกรีต ถนนลาดยาง ถนนลูกรัง 3. ชั้นข้อมูลที่ 3 แม่น้ำสายหลัก แม่น้ำสายรอง และคลองส่งน้ำ 4. ชั้นข้อมูลที่ 4 เส้นชั้นความสูงหลัก เส้นชั้นความสูงรอง 5. ชั้นข้อมูลที่ 5 พื้นที่ปิดล้อมโครงการ 6. ชั้นข้อมูลที่ 6 การใช้ประโยชน์ที่ดิน 7. ชั้นข้อมูลที่ 7 บ้าน โรงเรียน วัด สถานที่ต่างๆ

20 ขั้นตอนที่ 2 การประกอบระวางแผนที่: การสร้างชั้นข้อมูลแผนที่
เส้นชั้นความสูง การใช้ประโยชน์ที่ดิน ที่อยู่อาศัย โรงเรียน วัด สถานที่ต่างๆ จุดระดับสูง

21 ขั้นตอนที่ 3 การจัดทำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ชั้นข้อมูลที่ 1 จุดระดับสูง

22 ขั้นตอนที่ 2 การประกอบระวางแผนที่: การสร้างชั้นข้อมูลแผนที่ ชั้นข้อมูลที่ 2 ถนนคอนกรีต ถนนลาดยาง ถนนลูกรัง

23 ขั้นตอนที่ 2 การประกอบระวางแผนที่: การสร้างชั้นข้อมูลแผนที่ ชั้นข้อมูลที่ 3 แม่น้ำสายหลัก แม่น้ำสายรอง และคลองส่งน้ำ

24 ขั้นตอนที่ 2 การประกอบระวางแผนที่: การสร้างชั้นข้อมูลแผนที่ ชั้นข้อมูลที่ 4 เส้นชั้นความสูงหลัก เส้นชั้นความสูงรอง

25 ขั้นตอนที่ 2 การประกอบระวางแผนที่: การสร้างชั้นข้อมูลแผนที่ ชั้นข้อมูลที่ 5 พื้นที่ปิดล้อมโครงการ

26 ขั้นตอนที่ 2 การประกอบระวางแผนที่: การสร้างชั้นข้อมูลแผนที่ ชั้นข้อมูลที่ 6 การใช้ประโยชน์ที่ดิน

27 ขั้นตอนที่ 2 การประกอบระวางแผนที่: การสร้างชั้นข้อมูลแผนที่ ชั้นข้อมูลที่ 7 บ้าน โรงเรียน วั สถานที่ต่างๆ


ดาวน์โหลด ppt การประยุกต์แผนที่ภูมิประเทศระบบดิจิตอล เป็นระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google