งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิชา สรีรวิทยาของพืช ( ) (Plant Physiology) วันที่ 8 มิถุนายน 2552

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิชา สรีรวิทยาของพืช ( ) (Plant Physiology) วันที่ 8 มิถุนายน 2552"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิชา สรีรวิทยาของพืช (1202 320) (Plant Physiology) วันที่ 8 มิถุนายน 2552

2 การลำเลียงน้ำในต้นพืช
เส้นทางลำเลียงน้ำต่อเนื่องกันอย่างไม่ขาดสาย น้ำจากดินถูกดูดเข้าสู่รากขนอ่อน น้ำถูกลำเลียงจากรากเข้าสู่ลำต้น = -0.3 Mpa  = -0.6 MPa จากลำต้นเช้าสู่ใบ จากใบออกสู่บรรยากาศ = -0.8 Mpa  = - 95 MPa

3 การดูดน้ำของราก - รากขนอ่อนหรือปลายราก เป็นบริเวณที่ทำหน้าที่ดูดน้ำ
- รากขนอ่อนหรือปลายราก เป็นบริเวณที่ทำหน้าที่ดูดน้ำ รากที่มีอายุมากดูดน้ำได้น้อย

4 การดูดน้ำจากดินเข้าสู่ราก
เซลล์เอพิเดอร์มิสของรากขนอ่อน เนื้อเยื่อคอร์เทกซ์ของราก เส้นทางการเคลื่อนของน้ำเข้าสู่เนื้อเยื่อคอร์เทกซ์มี 2 เส้นทาง คือ อะโป พลาสต์(apoplast) และซิมพลาสต์(symplast) เมื่อน้ำเคลื่อนที่มาถึงชั้นเอนโดเดอมิสที่ล้อมรอบท่อลำเลียงของราก ซึงมีแถบแคสแพเรียน (casparion) ผนังเซลล์ด้านรัศมีนี้ไม่ยอมให้น้ำผ่าน น้ำจึงต้องเคลื่อนที่ผ่านพลาสมาเมมเบรน และไซโทพลาสซึมของเซลล์ เอนโดเดอร์มิส

5 ที่มา : http://www. cic-caracas
ที่มา :

6 การดูดน้ำจากดินเข้าสู่ราก
ดังนั้น เอนโดเดอมิสจึงเป็นชั้นเซลล์ที่ควบคุมการเคลื่อนที่ของน้ำจากดินเข้าสู่ท่อลำเลียงของรากโดยวิธีออสโมซิส และพลาสมาเมมเบรนของเอนโดเดอมิสยังเป็นด่านที่คัดเลือกอิออนที่เข้าสู่ท่อลำเลียงของรากด้วย

7

8 แรงผลักที่ทำให้เกิดการลำเลียงน้ำจากดินเข้าสู่ท่อลำเลียงของราก โดยใน สภาพที่พืชคายน้ำน้อย “คือ ความแตกต่างระหว่าง  ของท่อลำเลียง (ค่าเป็นลบมากเพราะการสะสม อิออน) กับเนื้อเยื่อคอร์เทกซ์” ส่วนใน สภาพการคายน้ำมาก “คือ ความแตกต่างของ  ตั้งแต่ใบ ลำต้น และราก เนื่องจากการคายน้ำ”

9


ดาวน์โหลด ppt วิชา สรีรวิทยาของพืช ( ) (Plant Physiology) วันที่ 8 มิถุนายน 2552

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google