งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ร่องน้ำปากน้ำชุมพร เรือ ต.๘๑.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ร่องน้ำปากน้ำชุมพร เรือ ต.๘๑."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ร่องน้ำปากน้ำชุมพร เรือ ต.๘๑

2 ตำบลที่ อ่าวชุมพร จ.ชุมพร แผนที่ที่เกี่ยวข้อง แผนที่เดินเรือไทย หมายเลข ๒๕๕(อศ) แผนที่เดินเรือไทย หมายเลข ๒๒๕(อศ) ลักษณะพื้นท้องทะเล โคลน ลักษณะน้ำ/ลม/มาตราน้ำ/ข้างขึ้น-แรม ขณะน้ำขึ้นสูงสุดและทรงตัว ความสูงน้ำ ๓.๕ เมตร ตรงกับวันขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๗ ทะเลมีคลื่นเล็กน้อยเรียบ ลมสงบ

3 ภาพแผนที่แสดงตำบลที่ท่าเรือ
ท่าเรือส่งเสริม ปากน้ำชุมพร

4 ภาพถ่ายดาวเทียมแสดงตำบลที่ท่าเรือ
ท่าเรือส่งเสริม ปากน้ำชุมพร

5 แผนที่ ๒๒๕อ่าวชุมพร แผนที่ ๒๒๕อ่าวชุมพร เกาะมัตโพน ร่องน้ำปากน้ำชุมพร
ปากน้ำชุมพรอยู่ทางด้านใต้ของอ่าวชุมพร

6 แผนที่แสดงข้อมูลร่องน้ำ
ทุ่นไฟปากร่อง FI.3s7.2M C-230 กระโจมไฟเกาะมัตโพน L FI.WR.7s47m16,8M หลักนำ A หลักนำ B ท่าเรือส่งเสริม

7 ภาพถ่ายดาวเทียมปากน้ำชุมพร
อ่าวชุมพร แนวเขื่อนกันคลื่น C-230 กระโจมไฟเกาะมัตโพน L FI.WR.7s47m16,8M ท่าเรือส่งเสริม

8 ทุ่นไฟปากร่อง FI.3s7.2M

9 เข็มเข้าร่องน้ำ ๒๓๐ กระโจมไฟ เกาะมัตโพน L FI.WR.7s47m16,8M
แนวเขื่อนกันคลื่นฝั่งซ้าย แนวเขื่อนกันคลื่นฝั่งขวา ร่องน้ำกว้าง๑๔๐ หลา เข็มเข้าร่องน้ำ ๒๓๐

10 แนวเขื่อนกันคลื่นและไฟปลายเขื่อนซ้าย
แนวเขื่อนกันคลื่นและไฟปลายเขื่อนขวา

11 การนำเรือเข้าร่องน้ำชุมพร
ไฟกำกับร่องน้ำฝั่งซ้าย หลักนำ การนำเรือเข้าร่องน้ำชุมพร ใช้เข็ม ๒๓๐ โดยมีหลักนำช่วยในการนำเรือ ระยะทางประมาณ ๑๘๐๐ หลาจากทุ่นไฟปากร่อง ร่องน้ำกว้าง ๑๔๐ หลา

12 ท่าเรือ ลักษณะท่าเรือทางกราบซ้าย ลักษณะร่องน้ำทางกราบขวา
เมื่อเปลี่ยนเข็มมาทางซ้ายจะมองเห็นท่าเรือมีหลังคาสีส้ม ทางกราบซ้ายน้ำจะตื้นกว่ากราบขวา ควรนำเรือให้อยู่บริเวณกึ่งกลางร่อง

13 ลักษณะท่าเทียบเรือ ต้นมะพร้าวสำหรับกันกระแทก
ท่าเรือส่งเสริมมีความสูง ประมาณ ๔ เมตร ท่าเรือเป็นคอนกรีต ไม่มียางกันกระแทก มีเฉพาะเสาต้นมะพร้าว ท่าเรือลักษณะรูปตัว T ขนาดโดยประมาณ กว้าง ๔ เมตร ยาว ๒๕ เมตร

14 ลักษณะท่าเรือ

15 การนำเรือเข้าเทียบ/ออกจากเทียบ
เมื่อถึงบริเวณทุ่นไฟปากร่อง นำเรือเข้าปากน้ำชุมพร ร่องน้ำกว้างประมาณ ๑๔๐ หลา โดยมีหลักนำในการนำเรือเข้าร่องน้ำ จำนวน ๑ คู่ เข็มหลักในการนำเรือเข้าร่องน้ำ คือ เข็ม ๒๓๐ (เข็มออกคือ ๐๕๐) ระยะทางประมาณ ๑๘๐๐ หลาจากทุ่นไฟปากร่อง แล้วนำเรือเลี้ยวตามโค้งซ้าย ระยะทางประมาณ ๖๐๐ หลา เพื่อเข้าไปท่าเรือส่งเสริม โดยให้ระมัดระวังทางด้านกราบซ้ายซึ่งมีระดับน้ำตื้น สำหรับตำบลที่ในการเทียบเรือ เรือ ตกฝ. ควรนำเรือเข้าในช่วงเวลาน้ำขึ้นสูงสุด และควรระมัดระวังเรือประมงขนาดเล็ก ที่จอดในบริเวณใกล้เคียง กระแสน้ำขึ้น-ลง ค่อนข้างแรง

16 ลักษณะการเทียบเรือ ควรเข้าเทียบกราบขวา หันหัวเรือออกปากร่อง เพราะด้านในร่องน้ำจะลึก แต่ถ้าเทียบกราบซ้ายควรเทียบให้ท้ายเรือห่างจากเบรกกันคลื่นทางด้านท้ายมากที่สุด เนื่องจากบริเวณนั้นน้ำค่อนข้างตื้น

17 ที่หมายเวลากลางคืน มีกระโจมไฟ เกาะมัตโพน(L FI.WR.7s47m16,8M) ทุ่นไฟปากร่อง ๑ ทุ่น(FI.3s7.2M) มีไฟกำกับร่องน้ำที่ปลายเบรกและมีหลักนำ ๑ คู่ (A,B)

18 ข้อควรระมัดระวัง ก่อนที่จะกลับลำเข้าเทียบท่าให้ระมัดระวังเรือประมงขนาดเล็กและใหญ่ที่สัญจรในร่องน้ำ ลักษณะน้ำขึ้น-น้ำลงในร่องน้ำข่อนข้างแรง ในขณะนำเรือต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ ในการเข้าเทียบท่าเรือควรเข้าเทียบในช่วงเวลาน้ำขึ้นสูงสุด และควรนำเรือเข้าเทียบให้เสร็จสิ้นก่อนเวลาน้ำลง ระดับน้ำลงต่ำสุด ประมาณ ๑.๒ เมตร ซึ่งเรือจะนั่งแท่น ลักษณะพื้นท้องทะเลเป็นโคลน ในช่วงเวลากลางคืน อาจมีลมแรงให้ระมัดระวังเรือประมงที่เทียบอยู่ฝั่งตรงข้ามโดยจอดเทียบกันอยู่หลายลำ มักจะมีเรือประมงหลุดจากเทียบ เวรยามต้องระมัดระวังเรือให้ดี และก่อนออกเรือควรทำการหยั่งน้ำก่อนทุกครั้ง

19 ลักษณะท่าเรือเมื่อน้ำลงต่ำสุด

20 การติดต่อสื่อสาร วิทยุ ไม่มี โทรศัพท์ ประสานกับทัพเรือภาคที่ ๑ สิ่งอำนวยความสะดวก การบริการน้ำ ไม่มี การบริการไฟฟ้า ไม่มี มีตลาดและร้านขายของต่าง ๆ ห่างจากท่าเรือประมาณ ๘๐๐ เมตร ความสัมพันธ์กับประชาชนในพื้นที่ : มีความสัมพันธ์ที่ดี


ดาวน์โหลด ppt ร่องน้ำปากน้ำชุมพร เรือ ต.๘๑.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google