งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ขุมทรัพย์จากใบ TRIGGER TOOL

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ขุมทรัพย์จากใบ TRIGGER TOOL"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ขุมทรัพย์จากใบ TRIGGER TOOL
RM Fort Suranari hospital

2 พรพ. 1 ก.ย. 2549 Ref. IHI <global trigger tool 2005>
ที่มา พรพ. 1 ก.ย. 2549 Ref. IHI <global trigger tool 2005>

3 วัตถุประสงค์ 1.ค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก (Trigger marker)
เพื่อลด Adverse event 2. ค้นหา Adverse event เมื่อเกิด ภาวะแทรกซ้อน

4 ใบ trigger tool ทุกหน้าป้าย เริ่ม ม.ค.50- มิ.ย.50
วิธีการ ใบ trigger tool ทุกหน้าป้าย เริ่ม ม.ค.50- มิ.ย.50

5 Outcome ตามระดับความรุนแรง และสถานที่เกิด
Trigger tool ม.ค.-มิ.ย.50 Trigger Marker Complication AE รวม ward 303 301 102 302 403 502 ICU 402 68 6 9 2 4 9 0 22 16 1 10 90 3 14 - 139

6 Ward 303 พัฒนาต่อ วัตถุประสงค์ 1
Ward 303 พัฒนาต่อ วัตถุประสงค์ 1. detect Trigger ให้ไวที่สุด,มากที่สุด 2. กรณีมี complication หา Adverse event 3. เปรียบเทียบกับการทำ medical record safety review

7 การดักจับจากการใช้ Trigger marker ม. ค. -ก. ย
การดักจับจากการใช้ Trigger marker ม.ค.-ก.ย.50 ใน ward 303 เพื่อลดการเกิด adverse event 1. Conscious , VS change ได้ intubation 56 ราย -> CPR 17 ราย 2. พบ trigger marker อื่น 55 ครั้ง (ที่สำคัญคือ BUN/CR > 2, hct , plt , hypoglycemia) แต่พบ adverse event 11 ราย เป็นจาก ACS 3, Sepsis 2 ราย , UGIB 2 3. อัตราการตาม rapid response team 100% Success 7 Status เดิม 3 Fail 10 ไม่ CPR 39 ราย

8 ตารางเปรียบเทียบ trigger tool และ medical record safety review
วิธีการ ใช้ใบ trigger tool ในหน้าป้าย ทบทวนเวชระเบียนย้อนหลัง เดือน Trigger marker complication พบ Harm F G H I รวม มิ.ย. 50 7 3 6 1 2 ก.ค.50 5 ส.ค.50 19 4 10 15 8 ไม่พบ AE พบ AE ไม่พบ AE พบ AE สรุป trigger tool ที่ใช้เป็น trigger marker ป้องกันการเกิด AE ได้ไว มากกว่า review chart แต่มีปัญหาในหน่วยอื่นเพราะไม่ครอบคลุมการหา trigger marker เฉพาะโรคจึงเปลี่ยนเป็น Clinical specific risk ส่วนการหา AE กรณีเกิดภาวะแทรกซ้อนทำให้เกิดปัญหากับหน่วยงานที่ลง AE เพราะจำเป็นต้องใช้การทบทวนจาก CLT จึงสามารถสรุปได้

9 แนวทางการปรับปรุงระบบงานจาก Trigger tool ward 303
1. ร่วมกับ CLT Med ปรับปรุงแนวทางดูแล UGIB , Sepsis, ACS 2. การประเมิน & เฝ้าระวัง ผป. จาก VS ที่เปลี่ยน & conscious stage change 3. การ transfer ผป. ระดับ 4-5 4. การดูแล ผป. On foley’s cath 5. การพยาบาล ผป.ข้อติด 6. การประเมิน & เฝ้าระวัง ผป.เสี่ยง ลื่นตกหกล้ม 7. การประเมิน & เฝ้าระวัง ผป.เกิดแผลกดทับใหม่ใน รพ.

10 สรุป ภาพรวมการใช้ Trigger tool
Trigger tool ช่วยเพิ่มความไวและความครอบคลุมในการดักจับเพื่อป้องกัน AE (ป้องกันความเสี่ยงเชิงรุก แต่ไม่ครอบคลุมโรคที่สำคัญในหน่วยงาน เช่น ACS, Sepsis) ถ้าทำ trigger tool ทุกหน่วยงานจะสามารถหา AE / 1000 วันนอน เป็นภาพรวม รพ. ได้ การทำ trigger tool สร้างวัฒนธรรม safety culture ในการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก บุคลากรทุกคนต้องร่วมมือ ทั้งแพทย์,พยาบาล,จนท. ทุกระดับ ทำต่อเนื่อง

11 ขอบคุณหน่วยงานทุกหน่วยงาน ที่ช่วยทำ CQI เรื่องนี้


ดาวน์โหลด ppt ขุมทรัพย์จากใบ TRIGGER TOOL

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google