งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สำนักงานปลัดบัญชีทหารเรือ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สำนักงานปลัดบัญชีทหารเรือ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สำนักงานปลัดบัญชีทหารเรือ
การพัฒนาระบบราชการ สำนักงานปลัดบัญชีทหารเรือ

2 ทำไมต้องพัฒนาระบบราชการ
ที่ผ่านมา ทร. ไม่มีการพัฒนาหรือ? จะพัฒนาเองได้หรือไม่ ทำใมต้องเป็นไปตามที่ ก.พ.ร. กำหนด? ทำมาแล้ว 3 ปีไม่เห็นว่าจะมีอะไรดีขึ้นเลย? เป็นการเล่นละครกันมากกว่า เห็นเขียนรายงานกันสวยหรู แต่ไม่มีการพัฒนาอะไรจริงจังเลย ? ดีแต่สั่งให้พัฒนา แต่ไม่เคยได้รับงบประมาณเพิ่มเลย แล้วจะพัฒนาได้อย่างไร? ไม่ทำไม่ได้หรือ? รู้บ้างไหมว่ามันเหนื่อย....

3 หลักการพัฒนา ปิดหัวใจ เปิดหัวใจ การพัฒนา
ประสบความสำเร็จ และพบความสุข กล้าเปลี่ยนแปลงตัวเอง กล้าที่จะฟังคำติ มากกว่าคำชม ปิดหัวใจ ประสบความล้มเหลว และมีความทุกข์ใจ ยึดตัวเองเป็นหลัก ไม่ฟังผู้อื่น หมดโอกาสเรียนรู้ ใจปิด ความคิดไม่ก้าว

4 หลักการพัฒนา จะปลูกพืชต้อง เตรียมดิน เมื่อจะกินต้อง เตรียมอาหาร
จะปลูกพืชต้อง เตรียมดิน เมื่อจะกินต้อง เตรียมอาหาร จะพัฒนางาน ต้องพัฒนาคน จะพัฒนาคน ต้องพัฒนาที่ใจ จะพัฒนาใครต้อง พัฒนาที่ตนเอง (ก่อน)

5 เหตุผลความจำเป็น 1 พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2545
พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 2 คำรับรองการปฏิบัติราชการกองทัพเรือ 3

6 พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดินฯ
มาตรา3/1 การบริหารราชการต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น กระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจการตัดสินใจ การอำนวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการ ของประชาชน ทั้งนี้โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลงาน

7 พ.ร.ฎ.หลักเกณฑ์และวิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีฯ
2. เกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจรัฐ มาตรา 6 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ได้แก่ การบริหารเพื่อบรรลุ เป้าหมายดังต่อไปนี้ 7. ประเมินผล การปฏิบัติราชการ อย่างสม่ำเสมอ 3. มีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจรัฐ 1. เกิดประโยชน์สุข ของประชาชน 4. ไม่มีขั้นตอน การปฏิบัติงาน เกินความจำเป็น 6. ประชาชนได้รับ ความสะดวก 5. ปรับปรุงภารกิจ ของส่วนราชการ ให้ทันต่อ สถานการณ์

8 การบริหารเพื่อให้เกิด ประโยชน์สุขต่อประชาชน
ความสงบและ ความปลอดภัยของ สังคมส่วนรวม ต้องมีความ ซื่อสัตย์ สุจริต ตรวจสอบได้ รับฟังความคิดเห็นของประชาชนอยู่เสมอ

9 การบริหารเพื่อให้เกิด ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจรัฐ
1 มุ่งเน้นผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน 2 ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ต้องมีความคุ้มค่า กับการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ 3 ต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม สามารถวัดผลการปฏิบัติงาน และเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานได้ 4 การจัดสรรงบประมาณ จะพิจารณาจากผลสัมฤทธิ์ของงาน

10 การบริหารเพื่อให้เกิด ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจรัฐ
ต้องสามารถวัดผลสัมฤทธิ์ของภารกิจได้ชัดเจน ความตกลง ในการปฏิบัติงาน (Performance Agreement) บริหารราชการแบบบูรณาการ พัฒนาให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้

11 การบริหารเพื่อให้เกิด ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจรัฐ
มาตรา การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจรัฐ ให้ส่วนราชการปฏิบัติดังต่อไปนี้ (1) ก่อนดำเนินการตามภารกิจใดๆ ส่วนราชการต้องจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ไว้เป็นการล่วงหน้า (2) การกำหนดแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการตาม (1) ต้องมี รายละเอียดของขั้นตอน ระยะเวลา และงบประมาณที่ต้องใช้ในการ ดำเนินการของแต่ละขั้นตอน เป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ และตัวชี้วัดความสำเร็จของภารกิจ (3) ส่วนราชการต้องจัดให้มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติ ตามแผนการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ส่วนราชการกำหนดขึ้น ซึ่งต้องสอดคล้องกับมาตรฐานที่ ก.พ.ร. กำหนด

12 การบริหารเพื่อให้เกิด ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจรัฐ
มาตรา 16 ให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ โดยจัดทำเป็นแผนสี่ปี ในแต่ละปีงบประมาณ ให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดยให้ระบุสาระสำคัญเกี่ยวกับนโยบายการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน รวมทั้งประมาณการรายได้และรายจ่ายและทรัพยากรอื่นที่จะต้องใช้เสนอต่อรัฐมนตรีเพื่อให้ความเห็นชอบ ในกรณีที่ส่วนราชการมิได้เสนอแผนปฏิบัติราชการในภารกิจใด หรือภารกิจใดไม่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี มิให้สำนักงบประมาณจัดสรรงบประมาณสำหรับภารกิจนั้น เมื่อสิ้นปีงบประมาณให้ส่วนราชการจัดทำรายงาน แสดงผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบัติราชการประจำปีเสนอต่อคณะรัฐมนตรี

13 การบริหารอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า
1 หลักความโปร่งใส ประกาศเป้าหมาย และแผนการทำงาน ระยะเวลาแล้วเสร็จ งบประมาณ ให้ประชาชนรับทราบ 2 หลักความคุ้มค่า จัดทำบัญชีต้นทุน (ABC) ประเมินความคุ้มค่าของผลลัพธ์ที่ได้ กับการใช้ทรัพยากร 3 หลักความชัดเจน ในการปฏิบัติงาน มอบหมายความรับผิดชอบ และกำหนดวิธีปฏิบัติที่เป็นมาตรฐาน

14 เป้าหมายของการพัฒนาระบบราชการ
“การพัฒนาระบบราชการที่ผ่านมา เป็นการพัฒนาตามแนวทางของ ส่วนราชการเอง หรือพัฒนาตามมติคณะรัฐมนตรีในแต่ละเรื่อง ก็อาจได้ผลเฉพาะบางหน่วยงานที่ผู้บริหารมีความกระตือรือร้น ที่จะพัฒนาองค์กร และแม้ว่าจะมีผู้บริหารเช่นนั้นหลายส่วนราชการ แต่ก็จะพัฒนาไปในทิศทางที่ตนเองเห็นว่าเหมาะสม ซึ่งอาจเป็นผลให้แนวทางการปฏิบัติราชการมีความแตกต่างกัน” สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ พ.ย.46

15 การบรรลุ วัตถุประสงค์ องค์กรในปัจจุบัน as-is
การบริหารองค์กร การบรรลุ วัตถุประสงค์ ประสิทธิภาพ องค์กรในอนาคต to-be องค์กรในปัจจุบัน as-is ระยะเวลา

16 การบรรลุ วัตถุประสงค์ องค์กรในปัจจุบัน as-is
การบริหารองค์กร การบรรลุ วัตถุประสงค์ ประสิทธิภาพ องค์กรในอนาคต to-be องค์กรในปัจจุบัน as-is ระยะเวลา

17 การบรรลุ วัตถุประสงค์ องค์กรในปัจจุบัน as-is
การบริหารองค์กร การบรรลุ วัตถุประสงค์ ประสิทธิภาพ องค์กรในอนาคต to-be องค์กรในปัจจุบัน as-is ระยะเวลา

18 สภาพแวดล้อม (Environment) การบรรลุ วัตถุประสงค์ องค์กรในปัจจุบัน as-is
ปัจจัยที่ควรคำนึง สภาพแวดล้อม (Environment) ทรัพยากร การบรรลุ วัตถุประสงค์ ประสิทธิภาพ องค์กรในอนาคต to-be องค์กรในปัจจุบัน as-is ระยะเวลา

19 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
มาตรา 12 เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ก.พ.ร. อาจเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อกำหนดมาตรการกำกับ การปฏิบัติราชการ โดยวิธีการจัดทำความตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร หรือโดยวิธีการอื่นใด เพื่อแสดงความรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ มาตรา ให้ส่วนราชการจัดให้มีคณะผู้ประเมินอิสระ ดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราการเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ คุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ ความคุ้มค่าในภารกิจ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่ ก.พ.ร. กำหนด

20 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
คำรับรองการปฏิบัติราชการ สิ่งจูงใจ / เงินรางวัล มิติที่ 1 มิติที่ 2 มิติที่ 3 มิติที่ 4

21 กรอบการประเมินผลฯ มิติที่ 1 มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ
มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ (ร้อยละ 15 ) ประสิทธิผลตาม แผนปฏิบัติราชการ (ร้อยละ 50 ) ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ (ร้อยละ 10) การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ 20 ) มิติที่ 4 มิติที่ 3

22 มิติที่ 1 ประสิทธิผลตามแผน การปฏิบัติราชการ
KPI 3 ความสำเร็จ ระดับ ทร. KPI 1 ความสำเร็จ ระดับ กห. มิติที่ 2 คุณภาพ การให้บริการ KPI 5 ความพึงพอใจ KPI 7.1 การเปิดเผย ข้อมูลข่าวสาร KPI 7.2 การป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต KPI 6 การเปิดโอกาสให้ ประชาชนมีส่วนร่วม มิติที่ 3 ประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ KPI 9 ประหยัดพลังงาน KPI 11 การจัดทำ ต้นทุน KPI 8 การเบิกจ่าย รายจ่ายลงทุน KPI 10 ลดระยะเวลา การให้บริการ มิติที่ 4 การพัฒนาองค์กร KPI 12 การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

23 ปัจจุบันเราทำงานอย่างไร ทำไมเราจึงทำเช่นนั้น แล้วควรจะทำอะไรต่อไป
การพัฒนากองทัพเรือ มีหลายปัจจัยที่กองทัพเรือพัฒนาขึ้นได้ แต่ไม่มีอะไรสำคัญไปกว่า การตัดสินใจเลือกวิธีการพัฒนา การตัดสินใจนั้นจำเป็นต้องตอบคำถามเหล่านี้ให้ได้ ปัจจุบันเราทำงานอย่างไร ทำไมเราจึงทำเช่นนั้น แล้วควรจะทำอะไรต่อไป

24 หน้าที่กองทัพเรือ พ.ร.บ. จัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ.2503
มาตรา 15 “กองทัพเรือ มีหน้าที่เตรียมกำลังกองทัพเรือ และป้องกันราชอาณาจักร” ทรัพยากรที่ใช้ กำลังพล อาคาร สิ่งอุปกรณ์ งบประมาณ ฯลฯ ความพร้อม ในการปฏิบัติการ (Readiness) การเตรียมกำลัง ประเทศ มีความมั่นคง ปลอดจาก ภัยคุกคาม พื้นที่ผลประโยชน์ ของชาติ ได้รับการคุ้มครอง การป้องกัน ราชอาณาจักร

25 ที่ผ่านมาเรามีอะไรบ้าง
ยุทธศาสตร์กระทรวง / ยุทธศาสตร์กองทัพเรือ / นโยบาย ทร. นโยบาย รมว.กห. / ผบ.ทหารสูงสุด / ผบ.ทร. แผนปฏิบัติงานของหน่วย และการฝึก เราจะพบว่าปัญหาส่วนใหญ่ของหน่วยคือ สิ่งอุปกรณ์ต่างๆ ไม่พอ เก่า หรือชำรุด กำลังพลไม่พอ งบประมาณไม่พอ ปัจจุบัน การเตรียมกำลัง ทำให้เรามีความพร้อมแค่ไหน ?

26 เป้าหมายการพัฒนา ทร. “จะเป็นกองทัพเรือชั้นนำในภูมิภาค ด้วยขนาดของกำลังรบที่สมดุล ทันสมัย ภายใต้การบริหารจัดการที่เน้นคุณภาพเป็นสำคัญ” สร้างหลักประกัน ในการเตรียมกำลังกองทัพเรือ ให้มีความพร้อม ในการปฏิบัติการเพื่อป้องกันประเทศ ยกระดับการบริหาร มุ่งสู่การบริหารงาน อย่างมืออาชีพ ทำงานอย่างสุจริต โปร่งใส ตรวจสอบได้

27 จะต้องพัฒนาอะไรบ้าง ? ยกระดับการบริหารมุ่งสู่ความเป็นมืออาชีพ
ปรับปรุงการวางแผนให้มีความชัดเจน สามารถถ่ายทอดความสำเร็จของ ทร. ไปสู่การปฏิบัติได้ จัดทำหลักเกณฑ์การประเมินความพร้อมในภาพรวมของ ทร. พัฒนาระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน กำหนดมาตรฐานในการปฏิบัติงาน พัฒนาบุคลากร การจัดการความรู้ กำหนดขีดสมรรถนะบุคลากร การประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคล

28 จะต้องพัฒนาอะไรบ้าง ? ทำงานอย่างสุจริต โปร่งใส ตรวจสอบได้
วางระบบการควบคุมภายใน ส่งเสริมธรรมาภิบาล สร้างหลักประกันในการเตรียมกำลังกองทัพเรือ ปรับปรุงคุณภาพการบริหารกองทัพเรือ เพื่อสร้างหลักประกัน ในการนำส่งผลผลิตที่มีคุณภาพ

29 การวางแผน เป็นเช่นนี้หรือไม่?

30 ทรัพยากร ที่ใช้ในการ ปฏิบัติงาน
การวางแผน เคยถามตัวเองหรือไม่ว่า แผนปฏิบัติงานของหน่วย มีความสัมพันธ์กับสิ่งเหล่านี้บ้างหรือไม่ ให้ใครทำ who ความรับผิดชอบที่ชัดเจน ขอบเขตของการปฏิบัติงาน ห้วงเวลาที่ปฏิบัติงาน ระยะเวลาการปฏิบัติงาน เป้าหมายของการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดความสำเร็จ ให้ไปทำอะไร what ให้ไปทำที่ไหน where ทรัพยากร ที่ใช้ในการ ปฏิบัติงาน ทำเมื่อไร when ทำไปทำไม why ทำอย่างไร how

31 จากยุทธศาสตร์ สู่การนำไปปฏิบัติ
TO BE AS IS ยุทธศาสตร์ ทร. ยุทธศาสตร์ ทร. การนำไปปฏิบัติ การนำไปปฏิบัติ

32 การลดช่องว่างของการนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ
TO BE AS IS ยุทธศาสตร์ ทร. ยุทธศาสตร์ ทร. กำลังรบ Performance Based Management แผนบริหาร การเปลี่ยนแปลง งบประมาณ กำลังรบ Performance Based Management งบประมาณ

33 ความพร้อมในการปฏิบัติการ
Ready for When Ready of What Ready for What กองทัพเรือต้องการผลสำเร็จอะไร มีกำลังทางเรือที่พร้อมสำหรับปฏิบัติตามแผนเผชิญเหตุ กองทัพเรือต้องการ ใช้กำลังนั้นเมื่อใด กำลังทางเรือจำนวน 10% พร้อมปฏิบัติตามแผนตลอดเวลา กำลังทางเรือทั้งหมดภายในสามารถปฏิบัติการตามแผนภายใน 6 ด. กองทัพเรือต้องการ ใช้กำลังอะไรบ้างที่จะใช้ในการปฏิบัติงาน รายชื่อหน่วยกำลังที่ต้องพร้อมตลอดเวลา รายชื่อหน่วยกำลังที่ต้องพร้อมภายใน 6 ด.

34 กระบวนการนำส่งผลผลิต
สภาวะแวดล้อมภายใน/ภายนอก ทรัพยากรที่ใช้ การปฏิบัติงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์

35 การนำส่งผลผลิตในปัจจุบัน
เน้นการดำเนินงานตามนโยบาย เน้นการพัฒนาคน/ยุทโธปกรณ์ / สิ่งอำนวยความสะดวก ขาดการประเมินผลอย่างทั่วถึง และเป็นแนวทางเดียวกัน การประเมินผลที่มีอยู่ยังใช้ Qualitative Approach แผนปฏิบัติงานไม่มีความชัดเจน และไม่เชื่อมโยงกับงบประมาณ ข้อเสีย อาจขาดความสนใจ ในการปฏิบัติงานประจำของหน่วย ขาดกระบวนการที่เป็นมาตรฐาน ไม่เห็นภาพรวมขององค์กร การพัฒนาที่ผ่านมาจึงไม่รู้ว่า บรรลุเป้าหมายหรือไม่ ไม่สามารถชี้แจงได้ชัดเจนว่า ได้รับงบประมาณเพิ่ม-ลด แล้วส่งผลกระทบอย่างไร

36 งบประมาณ แผนเบ็ดเสร็จซึ่งแสดงออกในรูปตัวเงิน แสดงโครงการดำเนินงาน ทั้งหมดในระยะเวลาหนึ่ง แผนนี้จะรวมถึงการกะประมาณการของ การบริหาร กิจกรรม โครงการ และค่าใช้จ่าย ตลอดจนทรัพยากรที่จำเป็น ในการสนับสนุนการดำเนินงานให้บรรลุตามแผน แผนการ ปฏิบัติงาน แผนการ ใช้จ่ายเงิน งบประมาณ

37 งบประมาณมุ่งเน้นผลงาน
สภาวะแวดล้อมภายใน/ภายนอก ตรงตามที่คาดหวัง อย่างสม่ำเสมอ ประสิทธิภาพ การใช้ทรัพยากร แผนปฏิบัติงาน ที่ชัดเจน ทรัพยากรที่ใช้ การปฏิบัติงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ ประหยัด คุ้มค่า เกิดประโยชน์ มุ่งผลสัมฤทธิ์

38 หลักประกันในการเตรียมกำลัง
จะเป็นกองทัพเรือชั้นนำในภูมิภาค ด้วยขนาดของกำลังรบที่สมดุล ทันสมัย ภายใต้การบริหารจัดการที่เน้นคุณภาพเป็นสำคัญ 1 Increased organizational performance. เพิ่มผลการปฏิบัติงานขององค์กร 2 Improved mission effectiveness. ปรับปรุงการบรรลุประสิทธิผลตามภารกิจ 3 Enhanced operational readiness. เพิ่มความพร้อม ในการปฏิบัติการ

39 ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์ ไปสู่การจัดทำคำรับรองฯ
ยุทธศาสตร์ ทร. (ยุทธศาสตร์ทางเรือ) แผนการเสริมสร้างกำลังรบ ยุทโธปกรณ์ โครงสร้างพื้นฐาน สิ่งอำนวยความสะดวก C3 กำลังพล ข่าว แผนกลยุทธ์ระดับกลุ่มงาน ส่งกำลังบำรุง กิจการพลเรือน สารสนเทศ คำรับรอง การปฏิบัติราชการ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ทร. แผนปฏิบัติราชการประจำปี แผนจัดหายุทโธปกรณ์/ก่อสร้าง แผนปฏิบัติการและการฝึก แผนปฏิบัติการระดับกลุ่มงาน ผลผลิต / โครงการ - ตัวชี้วัดระดับผลผลิต กิจกรรม – งบประมาณ - ตัวชี้วัดระดับกิจกรรม

40 Outcome Indicator แผนกลยุทธ์ 4 ปี Output Indicator กระบวนการ
Goals เป้าหมายสุดท้าย ยุทธศาสตร์ชาติ Outcomes ผลลัพธ์ ยุทธศาสตร์กลาโหม Outcome Indicator Outputs ผลผลิต ยุทธศาสตร์ทางเรือ วิสัยทัศน์ พันธกิจ แผนกลยุทธ์ 4 ปี Output Indicator มิติ ประสิทธิผล กลยุทธ์ 1 กลยุทธ์ 2 กลยุทธ์ 3 Processes กระบวนการ มิติ กระบวนการ ภายใน กิจกรรม 1..n กิจกรรม 1..n กิจกรรม 1..n Process Indicator Inputs ปัจจัยนำเข้า มิติพัฒนา ศักยภาพองค์กร Human Capital Resources ทรัพยากร Input Indicator Information Capital Organization Capital มิติทรัพยากร Resources งบประมาณ/ทรัพยากร

41 การสร้างหลักประกัน ในการนำส่งผลผลิต
หลักประกันในการนำส่งผลผลิต ยุทโธปกรณ์ มีความพร้อม และทันสมัย บุคลากร มีความรู้ และชำนาญ ปรับปรุง หลักนิยม ให้ทันสมัย SOP ครอบคลุมทุก การปฏิบัติงาน ของ ทร. กำลังทางเรือ มีความพร้อม สิ่งอุปกรณ์ ต่างๆ มีเพียงพอ ทรัพยากรที่ใช้ การปฏิบัติงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ แผนปฏิบัติงาน มีความชัดเจน สิ่งอำนวย ความสะดวก มีความพร้อม ทรัพยากร อื่นๆ มีเพียงพอ ประเทศมีความมั่นคง ปลอดจากภัยคุกคาม

42 การสร้างหลักประกัน ในการนำส่งผลผลิต
การปรับระบบงบประมาณเป็นแบบมุ่งเน้นผลงาน การจัดทำบัญชีต้นทุนกิจกรรม การเปลี่ยนระบบบัญชีเป็นบัญชีเกณฑ์คงค้าง การจัดทำบัญชีทรัพย์สิน คำรับรองการปฏิบัติราชการ ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง การควบคุมภายใน การจัดทำ HR Scorecard และ Competency การจัดทำ Strategy Map เกณฑ์รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กำลังทางเรือ มีความพร้อม ทรัพยากรที่ใช้ การปฏิบัติงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ ประเทศมีความมั่นคง ปลอดจากภัยคุกคาม

43 “ผลการดำเนินงานที่ดี
PART Performance Assessment Rating Tool เครื่องมือวิเคราะห์ความสำเร็จของการดำเนินงาน จากการใช้จ่ายงบประมาณ “ผลการดำเนินงานที่ดี เกิดจากการดำเนินงานตามขั้นตอน ที่มีความสัมพันธ์กันและต่อเนื่องกันทั้งระบบ”

44 การดำเนินงานจนบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร (ผลผลิต + ผลลัพธ์)
Performance คืออะไร การดำเนินงานจนบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร (ผลผลิต + ผลลัพธ์) Performance ไม่ใช่ ผลผลิต (Output) เพียงอย่างเดียว เครื่องยนต์ : Alloy V8. DOHC 4 valves/cylinder ความจุ : cc อัตราอัด : 10.4 : 1 กำลังสูงสุด : rpm. แรงบิดสูงสุด : 323Nm at 4200rpm. ความเร็ว : kph in 5.6 seconds Top speed in excess of 275kph

45 การวิเคราะห์ปัจจัยภายใน การวิเคราะห์ปัจจัยภายใน
PART vs PMQA การวิเคราะห์ปัจจัยภายใน SW การวิเคราะห์ปัจจัยภายใน OT Vision Mission Objective Front &Back Office PI KPI Strategies Corporate Business Function BSC PI KPI MBNQA – EFQM - PART TQM & Internal Risk TQM & External Risk Logical Model & CIPP Action Plan HRM + HRD + LO + KM Competencies Ethic R&D Customer & Partnership Leader Ship MIS Blue Print for Change Stake Holder Value for money, Cost – Effectiveness, B/C Ratio, Efficiency & Unit Cost, ABC & Economy

46 ประโยชน์ที่จะได้รับ การใช้จ่ายงบประมาณก่อให้เกิดผลงานตามนโยบายรัฐบาล
สำนักงบประมาณ จัดสรรงบประมาณให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยมีทางเลือกและความคุ้มค่าในการใช้ งบประมาณ ส่วนราชการ ตรวจสอบตนเอง ปรับปรุงพัฒนาตนเองให้ ไปสู่ การบริหารงานที่มีคุณภาพ ทำงานเป็นทีมและเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ มีความพร้อมที่จะรองรับการประเมินจากภายนอก

47 งบประมาณมุ่งเน้นผลงาน
จัดทำแผนการเตรียม กำลังด้านต่างๆ จัดทำแผนการรบ ระดับต่างๆ จัดลำดับความสำคัญ ของการเตรียมกำลัง กำหนดยุทธศาสตร์ แผนยุทธศาสตร์ ทร. การวางแผน ตรวจสอบ สภาวะแวดล้อม แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ทร. แผนปฏิบัติราชการ ประจำปี ทร. การตรวจหน่วย ?? การติดตาม/ ประเมินผล การนำแผน ไปปฏิบัติ แผนการจัดสรร งบประมาณ แผนปฏิบัติการ หน่วยต่างๆ รายงานผล การปฏิบัติงาน การปฏิบัติงาน หน่วยต่างๆ

48 งบประมาณมุ่งเน้นผลงาน
การวางแผน การติดตามประเมินผล กระทรวง ผลกระทบ (Impact) ยุทธศาสตร์ (Ministry Strategy) เป้าหมายการให้บริการ (Service Delivery Target) ผลลัพธ์ (Outcomes) กรม แผนกลยุทธ์ เป้าหมายการให้บริการ ผลผลิต (Output) การนำไปปฏิบัติ ผลผลิต / โครงการ งานสนับสนุน (เพื่อนำส่งผลผลิต) กิจกรรมหลัก กิจกรรม(สนับสนุน) ค่าใช้จ่าย (Cost) ทางตรง (Direct) ทางอ้อม (Indirect)

49 จุดมุ่งหมาย และรูปแบบ ชุด ข. การวางแผน กลยุทธ์ การเชื่อมโยง งบประมาณ
การประเมิน PART แบ่งการประเมินออกเป็น 5 ชุดคำถาม 30 ข้อ ชุด ก. จุดมุ่งหมาย และรูปแบบ 6 ข้อ ชุด จ. ผลผลิต 5 ข้อ ชุด ข. การวางแผน กลยุทธ์ 7 ข้อ ชุด ค. การเชื่อมโยง งบประมาณ 5 ข้อ ชุด ง. การบริหาร จัดการ 7 ข้อ

50 งบประมาณมุ่งเน้นผลงาน
การวางแผน การติดตามประเมินผล กระทรวง ผลกระทบ (Impact) ยุทธศาสตร์ (Ministry Strategy) เป้าหมายการให้บริการ (Service Delivery Target) ผลลัพธ์ (Outcomes) กรม แผนกลยุทธ์ เป้าหมายการให้บริการ ผลผลิต (Output) การนำไปปฏิบัติ ผลผลิต / โครงการ งานสนับสนุน (เพื่อนำส่งผลผลิต) กิจกรรมหลัก กิจกรรม(สนับสนุน) ค่าใช้จ่าย (Cost) ทางตรง (Direct) ทางอ้อม (Indirect)

51 การประเมิน PART เป็นการประเมินตนเอง
เน้นข้อมูลที่มีเอกสารหลักฐานประกอบเป็นหลัก เชื่อถือได้ ตรวจสอบที่มาได้ มีความถูกต้องชัดเจน จัดทำมาแล้วตามขั้นตอน ชุด ก. - ชัดเจน - ชี้แจง/อธิบายได้ ชุด จ. ชุด ข. - เปรียบเทียบแผนกับผล - การเพิ่มประสิทธิภาพ - การใช้เงินอย่างคุ้มค่า - เป้าหมายระยะยาวที่ชัดเจน - มีการทำแผน ชุด ง. ชุด ค. - การบริหารหน่วยงาน - การบริหารการเงิน - การเพิ่มขีดความสามารถ - การเก็บรวบรวมข้อมูล - เป้าหมายประจำปีที่ชัดเจน แผนมีรายละเอียด ต้นทุนแท้จริง

52 ชุด ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ
วิเคราะห์จุดมุ่งหมายและรูปแบบการนำองค์กร ว่ามีความชัดเจน สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ และคำนึงถึงผู้รับบริการหรือไม่ เป้าหมายการให้บริการของ ทร. มีความสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติ กำหนดกลุ่มเป้าหมายชัดเจน รับฟังปัญหา/ความต้องการ และนำส่งเป้าหมายให้ตรงตามความต้องการ การทำงานไม่ซ้ำซ้อนกับหน่วยงานอื่น คำนึงถึงอุปสรรค และข้อจำกัดในการดำเนินงาน

53 ชุด ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ
ก -1 ท่านมีความเข้าใจเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ เป้าหมายการให้บริการของกระทรวง และยุทธศาสตร์กระทรวง ที่หน่วยงานของท่านต้องรับผิดชอบดําเนินการให้บรรลุผลสําเร็จ หรือไม่ อย่างไร คำอธิบาย ยุทธศาสตร์ ทร. มีความเชื่อมโยงกับ ยุทธศาสตร์ กห. และยุทธศาสตร์ชาติ อย่างไร(รัฐธรรมนูญ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนบริหารราชการแผ่นดิน และ พ.ร.บ./พ.ร.ฎ. ที่เกี่ยวข้อง) และผังโครงสร้างความเชื่อมโยงอธิบายได้ชัดเจนอย่างไร ก -2 เป้าหมายการให้บริการของหน่วยงานที่ท่านกําหนดมีความสอดคล้องและเหมาะสม ต่อการนําส่งเป้าหมายระดับสูงหรือไม่ อย่างไร คำอธิบาย เป้าหมายการให้บริการของ ทร. มีความสอดคล้อง และเหมาะสมต่อการตอบสนองเป้าหมายของเป้าประสงค์ระดับชาติอย่างไร และมีสัดส่วนเท่าใด

54 ชุด ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ
ก -3 หน่วยงานของท่านกําหนดความต้องการ ปัญหาหรือเรื่องที่สนใจของกลุ่มเป้าหมายหรือไม่ อย่างไร คำอธิบาย ทร. กำหนดความต้องการ ปัญหา หรือเรื่องที่สนใจของกลุ่มเป้าหมาย (Target Group) และ/หรือ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) หรือไม่ และโดยวิธีการใด (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ.2548) ก -4 ผลผลิตที่กำหนด เป็นส่วนสําคัญที่ตอบสนองความต้องการ ปัญหาหรือเรื่องที่สนใจของกลุ่มเป้าหมาย และเป้าหมายระดับสูง หรือไม่ อย่างไร คำอธิบาย ผลผลิตที่ ทร. กำหนดมีความเชื่อมโยงกับความต้องการ ปัญหาหรือเรื่องที่สนใจของกลุ่มเป้าหมายและเป้าหมายของเป้าประสงค์ระดับชาติอย่างไร คำของบประมาณอธิบายได้ชัดเจนอย่างไร

55 ชุด ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ
ก -5 การกําหนดผลผลิตของหน่วยงานมีการพิจารณาความซ้ำซ้อนของผลผลิตของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนหรือไม่ กรณีที่หน่วยงานมีความ ซ้ำซ้อนกับผลผลิตของหน่วยงานอื่น สามารถจําแนกลักษณะผลผลิตที่แตกต่างกัน ได้หรือไม่ อย่างไร คำอธิบาย ผลผลิตของ ทร. ซ้ำซ้อนกับผลผลิตของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนหรือไม่ ถ้าซ้ำซ้อน หน่วยงานสามารถจำแนกลักษณะผลผลิตที่แตกต่างกันได้ ก -6 หน่วยงานได้ คำนึงถึงอุปสรรคและข้อจำกัด (อาทิ ด้านกฎหมาย ระเบียบ โครงสร้างส่วนราชการและปัจจัยในกระบวนการปฏิบัติงาน) ที่มีต่อการนำส่งผลผลิตหรือไม่ อย่างไร คำอธิบาย ทร. ได้คำนึงถึงปัจจัยภายนอกที่เป็นอุปสรรคและข้อจำกัดที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน เพื่อนำส่งผลผลิตหรือไม่ ปัจจัยที่สำคัญมีลักษณะใด และนำมาพิจารณาดำเนินการอย่างไร

56 ชุด ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ
ภาพรวมการดำเนินการในเรื่อง “จุดมุ่งหมายขององค์กร และรูปแบบการนำองค์กร” อยู่ในเกณฑ์ ดี ข้อควรปรับปรุง การวิเคราะห์ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ควรเป็นการสื่อสารสองทาง และกำหนดขั้นตอนการปฏิบัติให้ชัดเจนว่า เมื่อรับฟังความต้องการแล้ว จะนำไปสู่การวางแผนของ ทร. อย่างไร ขาดการบริหารความเสี่ยง

57 ชุด ข. การวางแผนกลยุทธ์
วิเคราะห์กระบวนการวางแผน การนำไปสู่การปฏิบัติโดยกำหนดเป้าหมายระยะยาวที่ชัดเจน และการติดตามประเมินผล กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้รับบริการ / ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การกำหนดเป้าหมายระยะยาว และถ่ายทอดเป้าหมายประจำปี ความท้าทายต่อโอกาส และข้อจำกัดต่างๆ การติดตามประเมินผลจากผู้ประเมินอิสระ การทบทวนและปรับปรุงแผนการปฏิบัติงาน เป็นประจำ

58 ชุด ข. การวางแผนกลยุทธ์
ข - 1 หน่วยงานจัดทําแผนกลยุทธ์ที่แสดงความเชื่อมโยงและถ่ายทอดภารกิจจากจุดมุ่งหมายของรัฐบาล (เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ชาติ) มายังผลลัพธ์ ผลผลิตและกิจกรรม ตามลําดับหรือไม่ อย่างไร คำอธิบาย ทร. มีกระบวนการวางแผนกลยุทธ์แบบมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและกำหนดความเชื่อมโยงภารกิจจากเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติมายังผลลัพธ์ ผลผลิตและกิจกรรมตามลำดับโดยวิธีการอย่างไร ข - 2 แผนกลยุทธ์กําหนดเป้าหมายระดับผลผลิตระยะยาวหรือไม่ อย่างไร คำอธิบาย แผนกลยุทธ์มีเป้าหมายของตัวชี้วัดระดับผลผลิตระยะยาว หรือไม่ กำหนดไว้อย่างไร

59 ชุด ข. การวางแผนกลยุทธ์
ข - 3 แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานกําหนดเป้าหมายระยะยาวที่ส่งผลต่อความสําเร็จของผลลัพธ์ (เป้าหมายการให้บริการของกระทรวง) ที่ท้าทาย (มีประสิทธิภาพสูงขึ้น) หรือไม่ อย่างไร คำอธิบาย แผนกลยุทธ์มีเป้าหมายการให้บริการ ทร. (ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์) ระยะยาวที่ท้าทาย ที่ส่งผลต่อความสําเร็จของเป้าหมายการให้บริการของ กห. หรือไม่ กำหนดไว้อย่างไร ข - 4 แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานจําแนกเป้าหมายผลผลิตเป็นรายปี หรือไม่ อย่างไร คำอธิบาย แผนกลยุทธ์มีเป้าหมายของตัวชี้วัดระดับผลผลิตรายปีหรือไม่ กำหนดไว้อย่างไร

60 ชุด ข. การวางแผนกลยุทธ์
ข - 5 แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานได้กําหนดวิธีการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน หรือไม่ อย่างไร คำอธิบาย แผนกลยุทธ์ของ ทร. ได้กำหนดแนวทางการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน หรือไม่ มีวิธีการประสานความร่วมมือมีลักษณะใด ข - 6 แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานกําหนดให้มีแผนการประเมินผลการปฏิบัติงาน ที่มีคุณภาพด้านขอบเขตของเนื้อหาที่จําเป็นเพื่อการปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ โดยประเมินตนเอง และโดยผู้ประเมินอิสระ หรือไม่ อย่างไร คำอธิบาย แผนกลยุทธ์ของ ทร. ได้กำหนดประเภทของการประเมินผลสำเร็จของหน่วยงาน โดยประเมินตนเอง และโดยผู้ประเมินอิสระเพื่อการปรับปรุงการดำเนินงานของ ทร. อย่างสม่ำเสมอหรือไม่ ทั้งการประเมินโดยตนเอง และโดยผู้ประเมินอิสระอย่างไร

61 ชุด ข. การวางแผนกลยุทธ์
ข - 7 หน่วยงานกําหนดให้มีกระบวนการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงด้านยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวง และ/หรือข้อกฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง เพื่อนํามาทบทวนกลยุทธ์ของหน่วยงาน หรือไม่ อย่างไร คำอธิบาย ทร. ทบทวนกลยุทธ์เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ กห. และ/หรือ ข้อกฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้องหรือไม่ กำหนดให้มีกระบวนการทบทวนกลยุทธ์ ไว้อย่างไร

62 ชุด ข. การวางแผนกลยุทธ์
ภาพรวมการดำเนินการในเรื่อง “การวางแผนกลยุทธ์” อยู่ในเกณฑ์ ดี ข้อควรปรับปรุง ยังไม่สามารถกำหนดตัวชี้วัดที่ท้าทาย เช่น เพิ่มขอบเขต พื้นที่ ประเภทการบริการ ไม่มีการประเมินจากผู้ประเมินอิสระใน core business มีการทบทวนแผน แต่ไม่ได้นำผลการประเมินมาทบทวน ขาดขั้นตอนการปฏิบัติที่ชัดเจน

63 ชุด ค. การเชื่อมโยงงบประมาณ
วิเคราะห์กระบวนการถ่ายทอดแผนไปสู่การปฏิบัติ และการจัดสรรทรัพยากร การเชื่อมโยงแผน กับงบประมาณ การประเมินความคุ้มค่าของงาน การนำผลการดำเนินงานมาปรับแผน

64 ชุด ค. การเชื่อมโยงงบประมาณ
ค - 1 หน่วยงานกําหนดเป้าหมายผลผลิตประจําปี ซึ่งแสดงให้เห็นความก้าวหน้าในการบรรลุเป้าหมายผลผลิตตามแผนงบประมาณในแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี หรือไม่ อย่างไร คำอธิบาย แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ของ ทร. มีเป้าหมายของตัวชี้วัดระดับผลผลิต ในเชิงปริมาณ คุณภาพ เวลา และต้นทุน หรือไม่ กำหนดไว้อย่างไร ค - 2 หน่วยงานกําหนดกิจกรรมหลักที่มีความเชื่อมโยงกับทรัพยากรที่ต้องการ ซึ่งสนับสนุนให้บรรลุเป้าหมายผลผลิตประจําปี หรือไม่ อย่างไร คำอธิบาย ทร. ได้กำหนดกิจกรรมหลักและแสดงความเชื่อมโยงการสนับสนุนการบรรลุค่าเป้าหมาย ของตัวชี้วัดระดับผลผลิตประจำปีเชื่อมโยงและสอดคล้องกับทรัพยากรที่ต้องการ หรือไม่ อย่างไร

65 ชุด ค. การเชื่อมโยงงบประมาณ
ค - 3 หน่วยงานกําหนดตัวชี้วัดความก้าวหน้า ตามระยะเวลาที่กําหนดทุกกิจกรรมหลัก หรือไม่ อย่างไร คำอธิบาย ทร. กำหนดตัวชี้วัดของกิจกรรมหลักเพื่อติดตามผลความก้าวหน้าตามระยะเวลาที่กำหนดหรือไม่ ค - 4 หน่วยงานกําหนดให้มีกิจกรรมเพื่อคํานวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต หรือไม่ อย่างไร คำอธิบาย ทร. จัดทำกิจกรรมเพื่อคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตหรือไม่ ดำเนินการถึงขั้นตอนการ ปันส่วนค่าใช้จ่ายหรือไม่

66 ชุด ค. การเชื่อมโยงงบประมาณ
ค - 5 หน่วยงานมีการพิจารณาผลการปฏิบัติงานที่ ผ่านมา เพื่อเป็นแนวทางในการกําหนดเป้าหมายผลผลิตประจําปี หรือไม่ อย่างไร คำอธิบาย ทร. มีวิธีการพิจารณาผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมาเพื่อปรับเป้าหมายของตัวชี้วัดระดับผลผลิตในแผนปฏิบัติการประจำปีหรือไม่

67 ชุด ค. การเชื่อมโยงงบประมาณ
ภาพรวมการดำเนินการในเรื่อง “การเชื่อมโยงงบประมาณ” อยู่ในเกณฑ์ พอใช้ ข้อควรปรับปรุง ตัวชี้วัดยังไม่ครอบคลุมการวัดเชิงปริมาณ คุณภาพ เวลา และค่าใช้จ่าย การเชื่อมโยงงบประมาณกับแผนปฏิบัติงานยังไม่สมบูรณ์ การคำนวณต้นทุนยังไม่สมบูรณ์ และไม่ได้นำผลประเมินไปใช้ มีการปรับแผนอยู่เป็นประจำ แต่ไม่ได้เกิดจากการเปรียบเทียบผลการดำเนินงาน

68 Public Management Quality Award
PMQA Public Management Quality Award “ส่วนราชการปฏิบัติงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง”

69 PMQA - เกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ลักษณะสำคัญขององค์กร PMQA - เกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำองค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความ สำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้

70 ความสัมพันธ์ของการพัฒนา ระบบราชการกับ PMQA
พรฎ. การจัดการ กระบวนการ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ การนำ องค์กร การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ ประสิทธิผล คุณภาพ ประสิทธิภาพ พัฒนาองค์กร ผลลัพธ์ 1.เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน 2.เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3.ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4.ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.ปรับปรุงภารกิจของ ส่วนราชการ 6.อำนวยความสะดวก ให้กับประชาชน 7.ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ

71 ความสัมพันธ์ของการพัฒนา ระบบราชการกับ PMQA
คำรับรอง การปฏิบัติราชการ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี การควบคุมภายใน Risk Management แผนบริหาร การเปลี่ยนแปลง Knowledge Management Competency HR Scorecard

72 เกณฑ์ PMQA ลักษณะสำคัญขององค์กร 1. ลักษณะองค์กร 2. ความท้าทายต่อองค์กร
ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ

73 เกณฑ์ PMQA หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร
1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสาธารณะ ข. การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม ค. การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ การกำหนด วิสัยทัศน์ ค่านิยม ทิศทาง ผลการ ดำเนินการที่คาดหวัง และการถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ การสร้างบรรยากาศการให้อำนาจตัดสินใจ นวัตกรรมและความคล่องตัว ความโปร่งใสตรวจสอบได้ ความรับผิดชอบ การปกป้อง ผลประโยชน์ ของประเทศชาติ การทบทวน ผลการดำเนินการ การนำผลมาปรับปรุงส่วนราชการ การดำเนินการกรณีที่การปฏิบัติงานมีผลกระทบ ต่อสังคม การดำเนินการต่อความกังวลของสาธารณะ การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม การวัดและการตรวจติดตาม การมีจริยธรรม องค์กร การสนับสนุนและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ ชุมชนที่สำคัญ

74 เกณฑ์ PMQA หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์
2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.2 การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ ก. กระบวนการ จัดทำยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ก. การจัดทำ แผนปฏิบัติการและ การนำแผนไปปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ การวางแผนยุทธ-ศาสตร์และกลยุทธ์ การนำปัจจัยที่เกี่ยวข้องมาประกอบการวางแผน เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์และกรอบเวลาในการบรรลุ ความสมดุลระหว่างความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด การจัดทำแผนปฎิบัติการ การนำแผนไปปฎิบัติ รวมทั้งการจัดสรรทรัพยากร การตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลง แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล การคาดการณ์ผลการดำเนินการ เกณฑ์เปรียบเทียบที่สำคัญต่างๆ

75 เกณฑ์ PMQA หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์และความ พึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การกำหนดกลุ่มผู้รับบริการ การรับฟังและเรียนรู้เพื่อกำหนดความต้องการของผู้รับบริการ การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ กลไกหลักๆที่ผู้รับบริการติดต่อส่วนราชการ กระบวนการจัดการข้อร้องเรียน การวัดความพึงพอใจ ไม่พึงพอใจ การใช้ช้อมูลมาปรับปรุงการดำเนินการ การติดตามช้อมูลจากผู้รับบริการ

76 เกณฑ์ PMQA หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศ และความรู้ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ก. ความพร้อมใช้งานของข้อมูล และสารสนเทศ ข. การจัดการ ความรู้ การเลือกการรวบรวม ข้อมูลและสารสนเทศ ที่สอดคล้อง และ บูรณาการ การเลือกและการใช้ ข้อมูลสารสนเทศ เชิงเปรียบเทียบ การวิเคราะห์เพื่อประเมินผลการดำเนิน-การและแผนเชิงกลยุทธ์ การสื่อผลการวิเคราะห์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ การทำให้ข้อมูลและ สารสนเทศพร้อมใช้งาน การเปิดเผยข้อมูลและ สารสนเทศ ฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์ มีความเชื่อถือได้ ปลอดภัย ใช้งานง่าย การจัดการความรู้ การทำให้มั่นใจว่า ข้อมูลและสารสนเทศ ถูกต้อง ทันการณ์ เชื่อถือได้ ปลอดภัย แม่นยำ และเป็นความลับ

77 เกณฑ์ PMQA หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1 ระบบบริหารงานบุคคล
5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ 5.3 ความผาสุกและความ พึงพอใจของบุคลากร ก. การจัดระบบบริหารงาน บุคคล ข. ระบบการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้าในการงาน ก. สภาพแวดล้อม ในการทำงาน ข. การให้การสนับสนุนและ สร้างความพึงพอใจ แก่บุคลากร การจัดระบบและบริหารงานเพื่อให้เกิดความร่วมมือ และความคล่องตัว การนำความคิดที่หลากหลายมาใช้ในระบบงาน การประเมินผลและให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อสนับสนุนผลการดำเนินการ การบริหารค่าตอบแทน รางวัล และสิ่งจูงใจต่างๆ การกำหนด คุณลักษณะและทักษะที่จำเป็น การสรรหา ว่าจ้างการสืบทอดตำแหน่ง การปรับปรุงสุขอนามัยป้องกันภัย การเตรียมพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน การกำหนดปัจจัยที่สำคัญต่อความผาสุกความพึงพอใจ และแรงจูงใจ การบริการ สวัสดิการ และนโยบายสนับสนุนพนักงาน ก. การศึกษา การฝึก อบรม และการพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนา ความก้าวหน้าในงาน การหาความต้องการในการฝึกอบรม การส่งเสริมการใช้ความรู้และทักษะใหม่ การจูงใจให้พนักงานพัฒนาตนเองและใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่

78 เกณฑ์ PMQA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า
6.2 กระบวนการสนับสนุน ก. กระบวนการที่สร้างคุณค่า ก. กระบวนการสนับสนุน การกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า การจัดทำข้อกำหนดของกระบวนการสร้างคุณค่า การออกแบบกระบวนการเพื่อตอบสนองข้อกำหนดที่สำคัญ การควบคุมและปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่า การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบและตรวจประเมิน การกำหนดกระบวนการสนับสนุน การจัดทำข้อกำหนดของกระบวนการสนับสนุน การออกแบบกระบวนการเพื่อตอบสนองข้อกำหนดที่สำคัญ การควบคุมและปรับปรุงกระบวนการสนับสนุน การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบและตรวจประเมิน

79 เกณฑ์ PMQA หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ 7.1 มิติด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ
7.1 มิติด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ 7.2 มิติด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.3 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร ผลการบรรลุความสำเร็จของยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติงาน ผลด้านการบูรณาการกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกันในการให้บริการ หรือการปฏิบัติงาน (*) ผลความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลตัวชี้วัดที่สำคัญอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า ผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน ผลด้านระบบบริหารงานบุคคล ผลด้านการเรียนรู้และพัฒนาของบุคลากร ผลด้านความผาสุก ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของบุคลากร ผลด้านการสร้างนวัตกรรมและการนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ ผลการเปิดเผยรายงานผลการใช้งบประมาณรายรับ-รายจ่ายประจำปี รายการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างโดยให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตรวจสอบได้ ผลด้านการปฏิบัติตามข้อบังคับและกฎหมาย ผลด้านการดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม การสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการบริหารงาน ผลด้านการเป็นองค์กรที่ดี (Organizational Citizenship) ในการสนับสนุน ชุมชนที่สำคัญ

80 สินค้า/บริการ คืออะไร กระบวนการที่เหมาะสม เป็นอย่างไร
PMQA vs SPBB สภาวะแวดล้อมภายใน/ภายนอก ทรัพยากร มีอะไรบ้าง ตรงตามที่คาดหวัง อย่างสม่ำเสมอ คือใคร ประสิทธิภาพ การใช้ทรัพยากร แผนปฏิบัติงาน ที่ชัดเจน ผู้ส่งมอบ ทรัพยากร ทรัพยากรที่ใช้ การปฏิบัติงาน ผลผลิต ผลลัพธ์ ประหยัด คุ้มค่า เกิดประโยชน์ มุ่งผลสัมฤทธิ์ สินค้า/บริการ คืออะไร กระบวนการที่เหมาะสม เป็นอย่างไร - ผู้รับบริการคือใคร - มีความต้องการอะไร

81 การควบคุมภายใน เป็นเครื่องมือที่ผู้บริหารนำมาใช้เพื่อให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานจะบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ สภาวะแวดล้อมภายใน/ภายนอก ความน่าจะเป็นที่จะเกิดปัจจัย ปัจจัยที่มากระทบ ทรัพยากรที่ใช้ การปฏิบัติงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่คาดหวัง ผลผลิต/ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นจริง Risk Management มีวิธีการควบคุมปัจจัยและรับมือกับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นอย่างไร ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการที่ได้ผลผลิตไม่ตรงตามที่ความหวังเป็นอย่างไร

82 การควบคุมภายในไม่ใช่เรื่องใหม่
0815 0830 0845 0900 0915

83 การควบคุมภายในไม่ใช่เรื่องใหม่
ปัจจัยที่เข้ามากระทบ กระแสน้ำ - ลม ความรู้ความสามารถของทีม ความพร้อมของเครื่องมือ 0815 วิธีการควบคุม เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม ฝึกทีมให้มั่นใจได้ว่าเข้าใจ และมีความสามารถ เตรียมแผนฉุกเฉิน 0830 0845 0900 ผลที่อาจเกิดขึ้น เรือติดตื้น เกยหิน ถึงที่หมายไม่ทันเวลา 0915

84 ผู้บริหาร.. ได้ทำสิ่งนี้หรือยัง?
ในการจัดวางระบบการควบคุมภายในองค์กร ท่านได้จัดทำสิ่งต่อไปนี้หรือยัง : ทำความเข้าใจกับมาตรฐานการควบคุมภายในที่กำหนดโดยคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน สร้างสภาพแวดล้อมการควบคุมที่ดี? ระบุวัตถุประสงค์การควบคุมเพื่อบริหารความเสี่ยง? ประเมินความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของการควบคุมที่กำหนด? กำหนดนโยบายการควบคุมและวิธีปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุม? ดำรงไว้ซึ่งความซื่อสัตย์และความมีจริยธรรม? ดำรงไว้ซึ่งความรู้ ความชำนาญในระดับที่จะช่วยให้มั่นใจว่าผลการดำเนินงานมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล? ดำรงไว้ซึ่งความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่เพียงพอที่จะปฏิบัติหน้าที่ ความรับผิดชอบอย่างมีประสิทธิภาพ?

85 ผู้บริหาร.. ได้ทำสิ่งนี้หรือยัง?
ในการนำการควบคุมภายในไปสู่การปฏิบัติ ท่านได้กระทำสิ่งต่อไปนี้หรือยัง : ออกแบบการควบคุมภายในขององค์กร ให้มีมาตรฐานไม่ต่ำกว่ามาตรฐานการควบคุมภายใน ที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินกำหนด? โครงสร้างการควบคุมภายในขององค์กรเหมาะสมและคุ้มค่า? นำระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผลมาใช้ทั่วทั้งองค์กร? แจ้งข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการควบคุมให้ผู้เกี่ยวข้องทราบและถือปฏิบัติโดยผ่านสายการบังคับบัญชา แผนงาน และนโยบายของผู้บริหาร? จัดให้มีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในขององค์กร?

86 ผู้บริหาร.. ได้ทำสิ่งนี้หรือยัง?
ในส่วนที่เกี่ยวกับงานของผู้ตรวจสอบภายใน ท่านได้จัดทำสิ่งต่อไปนี้หรือยัง : จัดให้มีหน่วยตรวจสอบภายใน? ให้การยอมรับว่างานการตรวจสอบภายในเป็นส่วนหนึ่งของการควบคุมภายในขององค์กร? แสดงให้เห็นถึงความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน? ให้ความมั่นใจว่าหน่วยตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระจากกิจกรรมที่ตรวจสอบ? มอบหมายให้หน่วยตรวจสอบภายในรับผิดชอบในการประเมินประสิทธิผลของการควบคุมภายในขององค์กร? จัดให้มีระบบติดตามผลความคืบหน้าขององค์กรในการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะนำของ ผู้ตรวจสอบ?

87 หน้าที่ผู้บริหาร “ผู้บริหารควรตระหนักว่าโครงสร้างการควบคุมภายในที่ดี เป็นพื้นฐานที่สำคัญของการควบคุมเพื่อให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ ขององค์กรทั้งด้านการดำเนินงานและการใช้ทรัพยากร” ผู้บริหาร จัดให้มีโครงสร้างการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล และเพียงพอ จัดให้มีหน่วยตรวจสอบภายใน ที่เป็นอิสระ

88 หน้าที่ผู้ตรวจสอบภายใน
ไม่ควรเป็นผู้พัฒนาระบบหรือวิธีปฏิบัติและไม่ควรเป็นผู้นำระบบหรือวิธีปฏิบัตินั้นไปสู่การปฏิบัติในส่วนงานที่ตนตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบภายในเป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างการควบคุมภายในของหน่วยงานภาครัฐ ผู้ตรวจสอบ ภายใน มีความเป็นกลางและต้องดำรงความเป็นอิสระ และความเที่ยงธรรม ตรวจสอบการปฏิบัติตามนโยบาย ระเบียบและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการควบคุมภายในขององค์กร

89 การควบคุมภายในของ ทร. ทรัพยากร การเตรียมกำลัง ความพร้อมในการปฏิบัติการ
กง.ทร. กบ.ทร. สปช.ทร. ยก.ทร. กบ.ทร. กพ.ทร. อล.ทร. ขว.ทร. สส.ทร. กพร.ทร. การเงิน การบัญชี พัสดุและ ทรัพย์สิน การวางแผน และงบประมาณ การส่ง กำลังบำรุง การ สื่อสาร กิจการ พลเรือน ยุทธการ กำลังพล สารสนเทศ การข่าว ทรัพยากร กำลังพล อาคาร สิ่งอุปกรณ์ งบประมาณ ฯลฯ การเตรียมกำลัง ความพร้อมในการปฏิบัติการ กำลังทางเรือ ไม่มีความพร้อมตามที่กำหนด การป้องกัน ราชอาณาจักร พื้นที่ผลประโยชน์ของชาติ ได้รับการคุ้มครอง ประชาชน ขาดความมั่นใจ ไม่สามารถคุ้มครอง พื้นที่ผลประโยชน์ได้ทั้งหมด

90 การรายงาน นขต.ทร. หน่วยเฉพาะกิจ ทร. สตช.ทร. จร.ทร. รายงาน ภายใน 1 พ.ย.
พัสดุและ ทรัพย์สิน การวางแผน และงบประมาณ ยุทธการ การส่ง กำลังบำรุง กำลังพล สารสนเทศ การข่าว การ สื่อสาร กิจการ พลเรือน การเงิน การบัญชี รายงาน ภายใน 1 พ.ย. คณะทำงานย่อยจัดวางระบบการควบคุมภายในด้านต่างๆ กง.ทร. กบ.ทร. สปช.ทร. ยก.ทร. กบ.ทร. กพ.ทร. อล.ทร. ขว.ทร. สส.ทร. กพร.ทร. ผู้ตรวจสอบภายใน ทร. สตช.ทร. จร.ทร. รายงาน ภายใน 30 พ.ย. คณะทำงานคิดตามประเมินผลผล และจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ทร.

91 ขอบคุณครับ but the most adaptable. ” “ It’s not the strongest
or the most intelligent that survive but the most adaptable. ” Charles Darwin


ดาวน์โหลด ppt สำนักงานปลัดบัญชีทหารเรือ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google