งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การขับเคลื่อน “ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง ...มุ่งสู่เขตสุขภาพ”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การขับเคลื่อน “ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง ...มุ่งสู่เขตสุขภาพ”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การขับเคลื่อน “ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง ...มุ่งสู่เขตสุขภาพ”
การขับเคลื่อน “ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง ...มุ่งสู่เขตสุขภาพ” โดย นายแพทย์ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

2 กรอบการนำเสนอ การดำเนินงานการแก้ไขปัญหาอ้วนทั่วโลก
นโยบาย และแนวทางการขับเคลื่อน ของกระทรวงสาธารณสุข ภาคีร่วมใจในศตวรรษนี้ แผนพัฒนาเขตสุขภาพ นโยบายกรมอนามัย ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการแก้ไข ปัญหาโรคอ้วน การขับเคลื่อน “ศูนย์การเรียนรู้ องค์กรไร้พุง...มุ่งสู่เขตสุขภาพ”

3 สถานการณ์ภาวะอ้วนทั่วโลก
บทสรุปของ WHO : March 2013 Worldwide obesity has nearly doubled since 1980. In 2008, more than 1.4 billion adults, 20 and older, were overweight. Of these over 200 million men and nearly 300 million women were obese. 35% of adults aged 20 and over were overweight in 2008, and 11% were obese. 65% of the world's population lives in countries where overweight and obesity kills more people than underweight. More than 40 million children under the age of five were overweight in 2011. Obesity is preventable.

4 สถานการณ์ภาวะอ้วนในผู้ใหญ่ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
สถานการณ์ภาวะอ้วนในผู้ใหญ่ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ Overweight prevalence (%) in Southeast Asia for adults of both sexes (BMI of ≥ 25kg /m2) Source: WHO Non-Communicable Diseases Country Profiles, 2011 Obesity in Thailand : Behold the Perfect storm by Bruce Bickerstaff

5 สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
Figure : Total deaths by broad cause group, by WHO Region, World Bank income group and by sex , 2008 - 36 million of the 57 million global deaths in 2008 were due to NCDs. - 29% of NCD deaths in low- and middle-income countries in 2008 occurred before the age of 60. -80% of premature heart disease, stroke and diabetes can be prevented. Most NCDs are strongly associated & causally linked with 4 behaviors : tobacco use physical activities unhealthy diet harmful use of alcohol

6 ยุทธศาสตร์โลก : การจัดการภาวะอ้วนจะเชื่อมโยงกับ NCDs
Year Global strategies 2012-present The action plan for the global strategy for the prevention and control of noncommunicable diseases (2013 – 2020) (กำลังดำเนินการอยู่) WHO Guideline on dietary salt and potassium The UN Political Declaration on Noncommunicable Diseases Moscow Declaration on Noncommunicable Diseases Global recommendations on the marketing of foods and non -alcoholic beverages to children The action plan for the global strategy for the prevention and control of noncommunicable diseases (2008–2013) The WHO Global Strategy on Diet, Physical Activity and Health - Global recommendations on physical activity for health The global strategy for the prevention and control of noncommunicable diseases

7 สถานการณ์อ้วน และภาวะอ้วนลงพุงของไทย
เพศ ครั้งที่ 3 2547 (%) ครั้งที่ 4 2552 (%) BMI ≥ 25 kg/m2 หญิง 34.4 40.7 ชาย 26.5 28.4 รอบเอวเกินเกณฑ์ 36.1 45.0 15.4 18.6 ที่มา : การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข

8 อัตราของผู้ป่วยในต่อประชากรแสนคน ด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญ พ. ศ
อัตราของผู้ป่วยในต่อประชากรแสนคน ด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญ พ.ศ อัตรา ต่อ 100,000 ประชากร ที่มา : แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย พ.ศ กระทรวงสาธารณสุข

9 ผลกระทบโรคอ้วนต่อสุขภาพ

10 โรคอ้วน : การสูญเสียทางเศรษฐกิจ
คนไทยต้องสูญเสียผลิตภาพ (Productivity loss) จากโรคอ้วน ได้แก่ เสียชีวิตก่อนวัยอันควร ,404 ราย ขาดงานเนื่องจากรักษาใน รพ ,876,343 วัน หรือคิดเป็นเงินค่าเสียหายจากการขาดงาน เท่ากับ ,246,728 บาท ประเทศต้องเสียค่าใช้จ่ายรักษาพยาบาล ประมาณปีละ ,584 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายโรคเบาหวานปีละ ,489 ล้านบาท ปัญหานี้อาจสร้างภาระทางสุขภาพอาจเท่ากับ หรือสูงกว่าการสูบบุหรี่ แหล่งข้อมูล : IHPP

11 ตัวอย่างการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหา โรคอ้วนในประเทศต่าง ๆ
สิงคโปร์ จัดให้มีโครงการ Trim and Fit (TAF) ในโรงเรียน ทั่วประเทศ ภายใต้ความร่วมมือของกระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุข ผลการดำเนินงาน : ลดความชุกของโรคอ้วนจากร้อยละ 14 เหลือร้อยละ 10 ในปี และร้อยละ 5 ในปี และเพิ่มความแข็งแรงของร่างกายในเด็กนักเรียน

12 โครงการ TAF ครอบคลุม - การปรับระบบอาหารโรงเรียน (อาหารและเครื่องดื่ม ที่ขายในโรงเรียนจะต้องมีคุณค่า ทางโภชนาการ) เพิ่มน้ำเย็นให้มีอยู่อย่างทั่วถึง เพื่อให้เด็กดื่มน้ำเปล่าเพิ่มมากขึ้น - การให้ความรู้ด้านอาหาร และโภชนาการใน - นอกห้องเรียน - การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ - โปรแกรมสำหรับเด็กภาวะโภชนาการเกิน และอ้วน - ติดตามประเมินน้ำหนัก และสมรรถภาพทางกาย ทุกปี - การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง และความร่วมมือ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

13 สหรัฐอเมริกา มาตรการอาหาร
การให้ข้อมูลด้านโภชนาการบนรายการอาหาร (menus/ menu boards)ในภัตตาคาร จำกัดการโฆษณา /การตลาดอาหารที่ด้อยคุณค่า ทางโภชนาการแก่เด็ก ปรับปรุงอาหารของโรงเรียน ส่งเสริมการบริโภคผัก ผลไม้อย่างน้อย 5 ชนิด เพิ่มโอกาสในการมรโภชนาการที่ดีและโครงการต่าง ๆ เช่น เก็บภาษีน้ำอัดลม/อาหารว่าง เก็บภาษีสินค้า ที่จัดว่าเป็น ”ของหวาน” จำกัด Trans fat และลดการบริโภคเกลือ

14 สเปน : นโยบายสาธารณะด้านอาหาร
ควบคุมการโฆษณาอาหารและเครื่องดื่มที่ไม่เป็นมิตรกับสุขภาพ ควบคุมการจำหน่ายอาหารในหน่วยงานและที่สาธารณะ ติดป้ายฉลากโภชนาการ สนับสนุนทางการเงินให้กับอาหารเพื่อสุขภาพ บังคับภาษีการโฆษณาอาหารที่ทำให้อ้วน ปฏิรูปนโยบายการเกษตรให้สนับสนุนเป้าหมายด้านโภชนาการ สร้างแรงจูงใจในการพัฒนาสูตรอาหารเพื่อสุขภาพ ควบคุมส่วนประกอบในกระบวนการผลิตอาหาร ส่งเสริมความรู้ด้านอาหารและสุขภาพในหลักสูตรโรงเรียน ควบคุมการใช้ข้อความด้านการตลาด (Marketing term)

15 โครงการโภชนาการสมวัยและเด็กไทยไม่เกินหวาน
ประเทศไทย โครงการโภชนาการสมวัยและเด็กไทยไม่เกินหวาน กรมอนามัย สมาคมโภชนาการแห่งประเทศ ฯ สสส. ส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดนโยบายโรงเรียนปลอดน้ำอัดลม /น้ำหวาน และส่งเสริมการบริโภคผัก ผลไม้ พัฒนาคุณภาพอาหาร ไม่วางเครื่องปรุงรส (น้ำปลา น้ำตาล) บนโต๊ะอาหาร/จุดบริการ / จำหน่ายอาหาร ขนม เครื่องดื่มตามเกณฑ์โภชนาการ บูรณาการความรู้โภชนาการสู่ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ฯลฯ ผลการสำรวจของ มสช. และ สกว. ปี 49 พบว่า โรงเรียนที่มีน้ำอัดลม / น้ำหวาน มีเด็กอ้วนเป็น 2 เท่าของโรงเรียนที่ไม่มี โรงเรียนที่จัดผลไม้ให้กับเด็กใน 1 สัปดาห์ มีเด็กอ้วนน้อยกว่าโรงเรียนที่ไม่จัดผลไม้ ร้อยละ 30

16 นโยบายและแนวทางการขับเคลื่อนนโยบาย
กระทรวงสาธารณสุข

17 การพัฒนากระทรวงสาธารณสุข
การกำหนดบทบาท 3 ส่วนให้ชัดเจน National Health Authority (NHA) & Regulator Purchaser หมายถึง สปสช. Provider หมายถึง เครือข่ายบริการ และหน่วยบริการ 2. การพัฒนาบทบาท NHA ของ กสธ. เบื้องต้นได้กำหนด “เป้าหมาย” ในรูป KPI ระดับกระทรวง ซึ่งได้ขับเคลื่อนตั้งแต่ 1 มกราคม 2556

18 ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ
KPI กระทรวง KPI เขต KPI กรม KPI จังหวัด แผนงานแก้ไขปัญหา การตรวจราชการนิเทศงาน การจัดสรรงบประมาณ การกำกับ ประเมินผล

19 กรอบงานส่งเสริมป้องกัน Health Promotion & Prevention
ตามลักษณะงาน National Programs Health Promotion & Prevention Basic Services Area Health

20 Partnership in 21st century ภาคีร่วมใจในศตวรรษนี้
Learning & Innovation skills ( 4C )   ทักษะ เรียนรู้และนวัตกรรม 1. Critical thinking                       คิดแยบคาย 2. Communication                 สื่อสาร 3. Collaboration                       สานสัมพันธ์ 4. Creativity                               สร้างสรรค์ Information, media & technology skills   ทักษะ สารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี 1. Information literacy           รู้สารสนเทศ 2. Media literacy                       รู้สื่อ 3. ICT literacy                         รู้เทคโนโลยีสื่อสาร

21 Partnership in 21st century ภาคีร่วมใจในศตวรรษนี้
Life & Career skills  ( FISAL)       ทักษะชีวิต และความก้าวหน้า 1. Flexibility & Adaptability       ยืดหยุ่น ปรับตัว 2. Initiative & Self direction     ริเริ่ม นำตน 3. Social & cross cultural skills     ทักษะสังคม วัฒนธรรม 4. Accountability & Productivity   โปร่งใส ผลิตภาพ 5. Leadership & Responsibility   ผู้นำ รับผิดชอบ

22

23 แผนพัฒนาเขตสุขภาพ บริการ (4 แผน) สส ปก 13 แผน บริหาร (8 แผน)
สุขภาพสตรี และทารก + BS สุขภาพเด็ก 0-2 ปี + BS สุขภาพเด็ก 3-5 ปี + BS สุขภาพเด็กนักเรียน + BS สุขภาพวัยรุ่น + BS พัฒนาบริการ 10 สาขา พัฒนาระบบส่งต่อ คุณภาพบริการ การแพทย์ฉุกเฉิน/อุบัติภัย การเงินการคลัง การบริหารกำลังคน-จริยธรรม ระบบข้อมูล การบริหารเวชภัณฑ์ พัฒนาประสิทธิภาพ ซื้อ/จ้าง สาธารณสุขชายแดน ยาเสพติด โครงการพระราชดำริ ป้องกันควบคุม NCD (DM&HT) ดูแลเฝ้าระวังสตรีไทยจากมะเร็ง ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ อาหารปลอดภัย การควบคุมโรคติดต่อ สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ การมีส่วนร่วมภาคประชาชน

24 องค์ประกอบของแผนงานส่งเสริมป้องกัน กลุ่มวัย
แผนสตรีตั้งครรภ์คุณภาพ แผนสุขภาพทารก 0-2ปี แผนสุขภาพเด็กปฐมวัย 3-5 ปี แผนสุขภาพเด็กวัยเรียน (6-12 ปี) แผนสุขภาพวัยรุ่น แผนป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง แผนคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/มะเร็ง เต้านม แผนสุขภาพผู้สูงอายุ การให้บริการหญิงตั้งครรภ์ที่พึงได้รับ -นมแม่ -พัฒนา 4 ด้าน -การเจริญเติบโต : สูง-สมส่วน -สุขภาพช่องปาก -วัคซีน เด็กปฐมวัยมีคุณภาพและบทบาทพ่อ-แม่ในการเลี่ยงดูแลปฐมวัย -พัฒนาการ4ด้าน -การเจริญเติบโต : สูง-สมส่วน -สุขภาพช่องปาก -วัคซีน เด็กนักเรียนมีคุณภาพ 4 ด้าน -พัฒนาการ4ด้าน -การเจริญเติบโต : สูง-สมส่วน -สุขภาพช่องปาก -วัคซีน การเข้าถึงกลุ่มวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยง -เพศสัมพันธ์ -บุหรี แอลกอฮอล์ -ยาเสพติด -พฤติกรรมอารมณ์ คลินิก NCDคุณภาพ (ขยายความครอบคลุมการตรวจภาวะแทรกซ้อน มะเร็งเต้านม -การตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง -การสร้างความตระหนักผ่านสื่อและการประเมิน ดูแลผู้สูงอายุคุณภาพ -เบาหวาน/ ความดัน -โรคซึมเศร้า -เข่าเสื่อม -สุขภาพช่องปาก สถานบริการANC&LR คุณภาพ WCC คุณภาพ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ คลินิกวัยรุ่น คลินิก NCDคุณภาพ (ขยายครอบคลุมการตรวจภาวะแทรกซ้อน) คลินิกบริการผู้สูงอายุ การเข้าถึงบริการของหญิงตั้งครรภ์ ส่งเสริมบทบาทครอบครัวพ่อ - แม่ชุมชน พัฒนาคุณภาพศูนย์เด็กเล็ก สร้างระบบการดูแลช่วยเหลือ วัยรุ่น เริ่มที่โรงเรียน -ลดปัจจัยเสี่ยงปชก/ชุมชน - DPAC แกนนำชุมชน อสม เข้มเข็ง อำเภอ/ตำบล80/ยังแจ๋ว

25 การขับเคลื่อน “ศูนย์การเรียนรู้ องค์กรต้นแบบไร้พุง...มุ่งสู่เขตสุขภาพ”
การขับเคลื่อน “ศูนย์การเรียนรู้ องค์กรต้นแบบไร้พุง...มุ่งสู่เขตสุขภาพ” 1. มีแผนยุทธศาสตร์ การสร้างนโยบายสาธารณะ 2. บูรณาการนโยบาย โครงการ งบประมาณทุกภาคส่วนลงสู่การปฏิบัติ 3. พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในชุมชน : ศึกษาดูงาน การเป็นวิทยากร 4. รณรงค์สร้างกระแสสังคม โดยการสื่อสาร สร้างความตระหนักเรื่องอ้วนลงพุง 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทำให้เกิด การขยายครอบคลุมพื้นที่เขตสุขภาพ

26 นโยบายกรมอนามัย

27 วิสัยทัศน์ องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 27

28 บทบาทกรมอนามัย 1. เป็นผู้อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพของประเทศ ทำหน้าที่ในการเชื่อมประสานภาคีเครือข่าย เพื่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ 2. เป็นองค์กรวิชาการด้านการส่งเสริมสุขภาพ และการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่สร้างองค์ความรู้ และเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับพฤติกรรมกลุ่มวัย 3. พัฒนาสมรรถนะและสร้างความเข้มแข็งให้ภาคี เครือข่ายสามารถทำบทบาทหน้าที่ของตนในระบบ ส่งเสริมสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 28

29 บทบาทใหม่ของกรมอนามัย
National Health Authority (NHA) & Regulator 2. Technical development and support

30 ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อน การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน

31 กรอบแนวคิดการดำเนินงานลดปัจจัยเสี่ยงจากภาวะน้ำหนักเกิน
สร้างนโยบายสาธารณะ และสิ่งแวดล้อมที่ลด ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบ ต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อิทธิพลสิ่งแวดล้อม/สังคม - การตลาดด้านอาหาร - กระแสตะวันตก - ขาดการออกกำลังกาย ขาดการออกกำลังกาย Energy out (-) ปัจจัยด้านชีวภาพ พันธุกรรม ทัศนคติ อ้วนลงพุง ปัจจัยด้านพฤติกรรม ระบบบริการสาธารณสุข -การให้คำปรึกษา -การรณรงค์ PR -คลินิกลดไขมัน -ระบบเฝ้าระวังภาวะเสี่ยง Energy in (+) -พัฒนาองค์ความรู้ -สร้างพันธมิตร ภาคีเครือข่าย ขับเคลื่อนในระดับชาติ การบริโภคอาหารไม่เหมาะสม กินปริมาณมาก กินหวาน/มันมาก

32 จุดหมายปลายทางการแก้ไขปัญหาโรคอ้วน กรมอนามัย
ระดับประชาชน / ชุมชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ชุมชน/องค์กร มีแกนนำคนไทยต้นแบบไร้พุง ประชาชนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้านพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ. ประชาชนประเมินและเฝ้าระวังพฤติกรรม ด้านโภชนาการ ออกกำลังกาย และอารมณ์ ได้ด้วยตนเอง ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงบริหารจัดการ) มีแผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการทั้งส่วนกลาง และพื้นที่ มีระบบการบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย มีระบบสื่อสารสังคมที่มีประสิทธิภาพ และต่อเนื่อง มีระบบเฝ้าระวัง ระบบข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการความรู้ที่ทันสมัย ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) สถานบริการพัฒนาสู่การเป็นต้นแบบ DPAC(คลินิกไร้พุง) หน่วยงานภาครัฐ/เอกชน /โรงเรียน / ชุมชน สามารถบริหารจัดการสู่ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง ชุมชน องค์กร/ผู้ผลิต ผู้ค้า ทุกระดับทุกภาคส่วน ได้รับการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์/ องค์ความรู้ สู่การปฏิบัติ องค์กรทุกระดับ และทุกภาคส่วน มีนโยบายมาตรการทางสังคม กฎ ระเบียบ และนำไปสู่การปฏิบัติ ชุมชน องค์กร/กลุ่มผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับ ทุกภาคส่วน มีการผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรมคนไทยไร้พุง ระดับรากฐาน (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) มีวัฒนธรรมองค์กรที่ดี (HEALTH Model) บุคลากรขององค์กร มีความรู้ ทักษะและความสามารถ ระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย ถูกต้อง ครบถ้วน เข้าถึงได้

33 การขับเคลื่อน “ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบ
การขับเคลื่อน “ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบ ไร้พุง ... มุ่งสู่เขตสุขภาพ”

34 โครงการ ภาคีร่วมใจคนไทยไร้พุงปี 2551-2552

35 การขับเคลื่อน “จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดีปี 2552 - 2553 ”

36 พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายระดับจังหวัด “องค์กรไร้พุง
พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายระดับจังหวัด “องค์กรไร้พุง...สู่คนไทยไร้พุง ปี 2554”

37 ประชุมเสวนา เรื่อง “รวมใจสลายพุง ปี 2555”
“กรมอนามัย เข้าพรรษา ลดอ้วน สร้างบุญ”

38 รณรงค์เรื่องคนไทยไร้พุง

39 แนวทางการขับเคลื่อน “คนไทยไร้พุง”
สร้างกระแสสังคมต่อเนื่องให้เข้มข้นขึ้น ส่งเสริมให้เกิด “ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง” ส่งเสริมให้เกิด”คลินิกไร้พุง (DPAC)” ในสถานบริการสาธารณสุข 4. สร้างสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการลดพุง

40 “ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง”
เกณฑ์การประเมิน “ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง” มี 7 องค์ประกอบ 1. มีคณะกรรมการรับผิดชอบการจัดการองค์กรเป็นศูนย์การเรียนรู้ ฯ 2. มีนโยบายด้านการส่งเสริมการจัดการควบคุมน้ำหนัก 3. มีแผนงานสร้างเสริมสุขภาพเพื่อลด โรคอ้วนลงพุง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 4. มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์เรื่องภัยเงียบของโรคอ้วน ภายในองค์กร

41 เกณฑ์การประเมิน (ต่อ)
5. ร้อยละ 80 ของบุคลากรในองค์กรประเมิน รอบเอวด้วยตนเอง 6. ร้อยละ 60 ของบุคลากรในองค์กรมีรอบเอวปกติ (ชายรอบเอวน้อยกว่า 90 ซม และผู้หญิงรอบเอวน้อยกว่า 80 ซม.) 7. องค์กรเป็นศูนย์การเรียนรู้ ฯ อย่างยั่งยืน โดยมีการบริหารจัดการ ดังนี้ - มีงบประมาณในการพัฒนาองค์กร - มีกิจกรรมที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

42 คุณลักษณะ องค์กรภาครัฐ/เอกชน ที่สมัคร เข้าร่วมเป็นศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง
องค์กร หมายถึง หน่วยงาน โรงเรียน ท้องถิ่น ชุมชน หรือ ชมรม 2. องค์กรมีบุคลากรหรือพนักงาน 30 คน ขึ้นไป 3. หัวหน้าผู้นำองค์กรสมัครใจที่จะเข้าร่วม และยินดี ที่จะร่วมมือในการ ขับเคลื่อน ศูนย์การเรียนรู้ องค์กรต้นแบบไร้พุง กับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และ กรมอนามัย

43 การดำเนินงานชุดกิจกรรม “ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง ปี 2556”
การดำเนินงานชุดกิจกรรม “ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง ปี 2556” 1. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ “ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง...มุ่งสู่เขตสุขภาพ” ในวันที่ พฤษภาคม ณ โรงแรมนารายณ์ กทม. 2. รณรงค์สร้างกระแสสังคม “ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบ ไร้พุง...มุ่งสู่เขตสุขภาพ” 3. ประมวลผล และวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ด้านลงพุงด้วยเส้นรอบเอวของประชาชนในศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง 4. สรุปผลการดำเนินงานศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง 5. “ถอดบทเรียนการดำเนินงานศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบ ไร้พุง “ 6. ผลิตคู่มือ - พิชิตอ้วน พิชิตพุง คนไทยไร้พุง - โรคอ้วนลงพุง (Metabolic Syndrome) ภัยเงียบ ที่คุณคาดไม่ถึง

44 ความคาดหวัง ขยายจำนวนศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุงครอบคลุมในทุกพื้นที่เขตสุขภาพ

45 ขอบคุณ และสวัสดีครับ


ดาวน์โหลด ppt การขับเคลื่อน “ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง ...มุ่งสู่เขตสุขภาพ”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google