งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ยินดีต้อนรับ นพ.พิศิษฐ์ ศรีประเสริฐ สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 7

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ยินดีต้อนรับ นพ.พิศิษฐ์ ศรีประเสริฐ สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 7"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ยินดีต้อนรับ นพ.พิศิษฐ์ ศรีประเสริฐ สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 7
นพ.อภิชัย มงคล ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 7 นพ.พิศิษฐ์ ศรีประเสริฐ สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 7 นายผดุชชัย เคียนทอง ผู้ช่วยผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 7 และคณะ วันที่ 11 กรกฎาคม 2556 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม

2 คำขวัญประจำจังหวัด “พุทธมณฑลอีสาน ถิ่นฐานอารยธรรม ผ้าไหมล้ำเลอค่า ตักสิลานคร”

3 ข้อมูลทั่วไป 13 อำเภอ 133 ตำบล 1,944/30 หมู่บ้าน/ชุมชน
13 อำเภอ 133 ตำบล 1,944/30 หมู่บ้าน/ชุมชน 262,768 ครัวเรือน ประชากร 961,605 คน ชาย 476,223 คน หญิง 485,382 คน เทศบาล แห่ง อบต แห่ง

4 สถานบริการสาธารณสุข ที่ สถานบริการสุขภาพ จังหวัดมหาสารคาม ระดับ 1
รพ.มหาสารคาม S 2 รพ.บรบือ M๒ 3 รพ.พยัคฆภูมิพิสัย 4 รพ.โกสุมพิสัย F๑ 5 รพ.วาปีปทุม 6 รพ.นาเชือก F๒ 7 รพ.นาดูน 8 รพ.ยางสีสุราช 9 รพ.แกดำ 10 รพ.กันทรวิชัย 11 รพ.เชียงยืน 12 รพ.กุดรัง F๓ 13 รพ.ชื่นชม

5 สถานบริการสาธารณสุข รพ.สต. 175 แห่ง ศสม. 4 แห่ง
รพ.สต แห่ง ศสม แห่ง รพ.เอกชน (50 เตียง) 1 แห่ง

6 จำนวนบุคลากรต่อประชากร
แพทย์ 1 : 5,863 ทันตแพทย์ 1 : 17,808 เภสัชกร 1 : 10,805 พยาบาลวิชาชีพ 1 : 1,096 จนท.ต่อ รพ.สต. 1 แห่ง 1: 3.67 ประชากรต่อ จนท.รพ.สต.1 คน 1: 1,495

7 ผลการดำเนินงาน 4 ประเด็นหลัก

8 ประเด็นหลักที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค

9 1.1.1การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรคในกลุ่มสตรีตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ
(8 ตัวชี้วัด) ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ การผ่านเกณฑ์ (101) ร้อยละของ ANC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 11 100 P (102) ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ (ไม่น้อยกว่า 60) 4,555 2,438 53.52 O (103) ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์( ไม่น้อยกว่า 90) 2,943 64.61 (104) ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน (เท่ากับ 100) (105) ร้อยละของห้องคลอดคุณภาพ (106) ร้อยละของภาวะขาดออกซิเจนระหว่างคลอด (ไม่เกิน 25 ต่อการเกิดมีชีพพันคน) 4,571 93 20.34 (107) ร้อยละของภาวะตกเลือดหลังคลอด (ไม่เกิน 5) 28 0.61 (108) ร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ (ไม่น้อยกว่า 65) 3,470 76.18

10 1.1.2 การส่งเสริมสุขภาพป้องกัน ควบคุมโรคในเด็กแรกเกิดถึง 2 ปี อย่างมีคุณภาพ
(7 ตัวชี้วัด) ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ การผ่านเกณฑ์ (109) ร้อยละของเด็กตั้งแต่ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือนแรก มีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียว (ไม่น้อยกว่า 50) 2,707 1,788 66.05 P (110) ร้อยละของสถานบริการจัดระบบบริการคลินิกเด็กดีคุณภาพ (WCC คุณภาพ) ไม่น้อยกว่า 70 186 100 (111) ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัด (ไม่น้อยกว่า 95) 8,274 3,823 46.21 O (112) ร้อยละของเด็ก 0-2 ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า 90 (ยกเว้นวัคซีน MMR ไม่น้อยกว่า 95) (1) ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีน BCG 3,580 43.27 (2) ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีน DTP-HB3 4,413 53.34 (3) ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี ที่ได้รับวัคซีน OPV3 4,231 51.13

11 1.1.2 การส่งเสริมสุขภาพป้องกัน ควบคุมโรคในเด็กแรกเกิดถึง 2 ปี อย่างมีคุณภาพ
(7 ตัวชี้วัด) ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ การผ่านเกณฑ์ (4) ร้อยละของเด็กอายุ 2 ปี ที่ได้รับวัคซีน DTP4 8,322 4,740 56.96 O (5) ร้อยละของเด็กอายุ 2 ปี ที่ได้รับวัคซีน OPV4 4,750 57.08 (6) ร้อยละของเด็กอายุ 2 ปี ที่ได้รับวัคซีน JE2 4,826 57.99 (113) ร้อยละของเด็ก 0-2 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน (ไม่น้อยกว่า 70) 9,825 8,342 84.91 P (114) ร้อยละของเด็ก 0-2ปีได้รับการตรวจพัฒนาการตามวัย (ไม่น้อยกว่า 80) 9,707 98.80 (115) ร้อยละของเด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจช่องปากและผู้ดุแลได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันไม่น้อยกว่า 70 12,033 8,430 70.05 (115) ร้อยละของเด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับ Fluorine vanish (ไม่น้อยกว่า 50) 8,466 4,333 51.18

12 1.2.1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกัน ควบคุมโรคในเด็กอายุ 3-5 ปี อย่างมีคุณภาพ
(6 ตัวชี้วัด) ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ การผ่านเกณฑ์ (116) ร้อยละของเด็ก (3-5 ปี) ที่มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่า 85) 8,340 8,293 99.44 P (117) ร้อยละของเด็กปฐมวัย (3-5 ปี) มีปัญหาฟันน้ำนมผุ (ไม่เกิน 57) กำลังดำเนินการสำรวจ และบันทึกข้อมูล O (118) ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กระดับดีและดีมาก (ไม่น้อยกว่า 70) 365 300 82.19 (119) ร้อยละของเด็ก 3-5 ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ (ไม่น้อยกว่า 90) (1) ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปี ที่ได้รับวัคซีน JE3 8,743 4,503 51.51 (2) ร้อยละของเด็กอายุ 5 ปี ที่ได้รับวัคซีน DTP5 4,601 52.63 (3) ร้อยละของเด็กอายุ 5 ปี ที่ได้รับวัคซีน OPV5 4,505 51.53 (120) ร้อยละของเด็ก 3-5 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน (ไม่น้อยกว่า 70) 8,449 7,549 89.35 (121) ร้อยละของเด็ก 3-5 ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการตามวัย (ไม่น้อยกว่า 80) 98.71

13 1.3.1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกัน ควบคุมโรคในเด็กวัยเรียนอย่างมีคุณภาพ
(4 ตัวชี้วัด) ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ การผ่านเกณฑ์ (122) ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6-12 ปี) มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน (ไม่น้อยกว่า 70) 62,485 54,926 87.90 P (123.1) ร้อยละของเด็กประถม 1 ได้รับการตรวจช่องปาก ไม่น้อยกว่า 85 7,401 5,984 80.85 O (123.2) ร้อยละของเด็กประถม 1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน (ไม่น้อยกว่า 30) 1,487 20.09 (124) ร้อยละของเด็ก 6-12 ปี ได้รับวัคซีนกระตุ้นทุกประเภทตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า 90 (ยกเว้นวัคซีน MMR ป.1 และวัคซีน dT ป.6 ไม่น้อยกว่า 95) (1) ร้อยละของเด็กนักเรียนชั้น ป. 1 ได้รับวัคซีน MMR2 9,811 9,670 98.56 (2) ร้อยละของเด็กนักเรียนชั้น ป. 6 ได้รับวัคซีน dT 9,130 8,935 97.86 (125) ร้อยละของโรงเรียนปลอดน้ำอัดลม (ควบคุมน้ำหวาน และขนมกรุบกรอบ) (ไม่น้อยกว่า 75) 595 481 80.84

14 P O 1.3.2 การส่งเสริมสุขภาพป้องกัน ควบคุมโรคในเด็กวัยรุ่นอย่างมีคุณภาพ
(2 ตัวชี้วัด) ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ การผ่านเกณฑ์ (126) ร้อยละของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) และเชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน เช่น ยาเสพติด บุหรี่ OSCC คลินิกวัยรุ่น ฯลฯ (ไม่น้อยกว่า 70) 11 100 P (127) อัตราการใช้ถุงยางอนามัยของนักเรียนชายระดับมัธยมศึกษา (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50) 915 ดำเนินการสำรวจ สค.56 O

15 O P 1.4.1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคมะเร็งเต้านม
และมะเร็งปากมดลูก (4 ตัวชี้วัด) ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ การผ่านเกณฑ์ (128) ร้อยละของสตรี ปีที่มีการตรวจเต้านมด้วยตนเอง (ไม่น้อยกว่า 80) 220,447 146,041 66.25 O (129) ร้อยละของสตรี ปีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสมถึงปี (ไม่น้อยกว่า 80) 147,210 66.78 (130) สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกระยะที่ 1 และ 2 (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) -มะเร็งปากมดลูก ระยะที่ 1 และ 2 18 100 P -มะเร็งเต้านม ระยะที่ 1 และ 2 220 (131) ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธ์ที่อยู่กินกับสามี ได้รับบริการวางแผนครอบครัวทุกประเภทไม่น้อยกว่า 80 204,174 183,573 89.91

16 อยู่ระหว่างดำเนินการ
1.4.2 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง) (6 ตัวชี้วัด) ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ การผ่านเกณฑ์ (132) ร้อยละของประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง (ไม่น้อยกว่า ๙๐) 896,832 355,791 39.67 O (133) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี (ไม่น้อยกว่า ๕๐) -ใช้ผลของ FBS 146,730 48,167 32.83 -ใช้ผลของ HbA1C 16,049 3,385 21.09 (134) ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี (ไม่น้อยกว่า 40) 164,093 97,266 59.27 P (135) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการดูแลรักษา /ส่งต่อ (เท่ากับ 100) 2,424 100 (136) ร้อยละของประชาชนเป้าหมายได้รับการฉีดวัคซีนกระตุ้นครบตามเกณฑ์ (มากกว่า 90) อยู่ระหว่างดำเนินการ (137) ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ (มากกว่าหรือเท่ากับ 31) 20,781 4,687 22.55

17 1.5.1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคในกลุ่มผู้สูงอายุ และผู้พิการ (3 ตัวชี้วัด)
เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ การผ่านเกณฑ์ (138) ร้อยละของผู้สูงอายุ ผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ (ไม่น้อยกว่า 80) 132,619 125,970 94.98 P (139) ร้อยละของผู้สูงอายุ ได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ความดัน (เท่ากับ 90) 133,444 56,964 42.69 O (140) ร้อยละของคลินิกผู้สูงอายุ ผู้พิการคุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) (1) ร้อยละของโรงพยาบาล 120 เตียงขึ้นไป มีคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 2 แห่ง ดำเนินการ กค.56 (2) ร้อยละของคลินิกสายตาเลือนรางในโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไปที่มีคุณภาพ 1 100 (3) ร้อยละของคลินิกเวชกรรมฟื้นฟูในโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไปที่มีคุณภาพ

18 1.6.1 สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อการทำงานด้านสุขภาพ (4 ตัวชี้วัด)
เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ การผ่านเกณฑ์ (141) ร้อยละของสถานบริการสาธารณสุขและส่งเสริมสุขภาพปลอดบุหรี่ (เท่ากับ 100) 529 100 P (142) ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐาน ตามเกณฑ์ที่กำหนด (เท่ากับ 90) (1) อาหาร 521 428 82.2 O (2) เครื่องสำอาง 127 87 68.5 (143) ร้อยละของสถานประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (เท่ากับ ๙0) 483 (144) ร้อยละของผู้ประกอบการ อาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย ได้รับอนุญาตตามเกณฑ์ Primary GMP (ไม่น้อยกว่า 70 ของผู้ที่มายื่นขออนุญาต) 2

19 P 1.7.1 ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ตัวชี้วัด เป้าหมาย
ผลงาน ร้อยละ การผ่านเกณฑ์ (145) ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มีการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส และลดเสี่ยง (ไม่น้อยกว่า 50) 187,936 133,072 70.82 P

20 การเร่งดำเนินงานในตัวชี้วัดที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์
1. 2. 3. 4. 5.

21 ประเด็นหลักที่ 2 การพัฒนา ระบบบริการสุขภาพ

22 2.1.1 พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพ
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ การผ่านเกณฑ์ (201) สัดส่วนของจำนวนผู้ป่วยนอก เบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ไปรับการรักษาที่ ศสม./รพสต.มากกว่าร้อยละ 50 (202) เครือข่ายมีระบบพัฒนา Service Plan ที่มีการดำเนินการได้ตามแผน ระดับ อย่างน้อย 4 สาขา และตัวชี้วัดอื่นๆ (6 สาขา) ตามที่กำหนด 10 100 P (203) ร้อยละของ ศสม.ในเขตเมืองผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 4

23 2.1.2 การวิเคราะห์ศักยภาพในการบริการด้านรักษาพยาบาล (CMI)
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ การผ่านเกณฑ์ (204) ร้อยละของ รพศ.ที่มี CMI ไม่น้อยกว่า 1.8 และ รพท. ไม่น้อยกว่า 1.4 (ร้อยละ 80) 1 แห่ง (รพ.มค.) (ไม่น้อยกว่า 1.4) 1.28 O 2.1.3 การพัฒนาระบบส่งต่อ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ การผ่านเกณฑ์ (205) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ 50 ปี 55=1,165 ปี 56=525 640 (ลดลง) ลดลง 54.94 P

24 2.1.5 การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานบริการ
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ การผ่านเกณฑ์ (206) ร้อยละของโรงพยาบาลได้รับการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานที่กำหนด (ร้อยละ 90) 11 8 72.72 O (207) ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 12 100 P (208) ร้อยละของสถานพยาบาลเอกชนได้คุณภาพมาตรฐานตามกฎหมาย (100) 214 (208) ร้อยละสถานประกอบการเพื่อสุขภาพได้คุณภาพมาตรฐานตามกฎหมาย (100) (สปาและนวดเพื่อสุขภาพ) 5 (209) ร้อยละของเครือข่ายห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุขได้รับการพัฒนาศักยภาพ/คุณภาพ/หรือรับรองคุณภาพมาตรฐาน (70 ของแผนการดำเนินงาน) 9 81.81 (210) ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน (เท่ากับ 14) 1,739,890 209,169 12.02

25 2.2.1 การจัดการด้านการแพทย์และสาธารณสุขฉุกเฉิน
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ การผ่านเกณฑ์ (211) ร้อยละของอำเภอที่มีทีม DMAT, MCATT, SRRT คุณภาพ (เท่ากับ 80) (1) DMAT 13 100 P (2) MCATT 11 (3) SRRT (212) ร้อยละของ ER EMS คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) (1) ER คุณภาพ จะทำการประเมิน กค.56 O (2) EMS คุณภาพ (1) ร้อยละของผู้ป่วยเร่งด่วนและฉุกเฉินวิกฤติ (สีเหลืองและสีแดง) ที่มาด้วยระบบการแพทย์ฉุกเฉินโดยแจ้งผ่านศูนย์สั่งสาร 1169 (เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10) 90.33  (2) ร้อยละของผู้ป่วยเร่งด่วนและฉุกเฉินวิกฤติ (สีเหลืองและสีแดง) ที่ได้รับการปฏิบัติฉุกเฉินในเวลา 10 นาทีที่ได้รับแจ้งเหตุ (มากกว่า 70) 56.85  (213) จำนวนทีม MERT ที่ได้รับการพัฒนา 1

26 2.3.1 การพัฒนาศักยภาพ อสม. P ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ
2.3.1 การพัฒนาศักยภาพ อสม. ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ การผ่านเกณฑ์ (214) ร้อยละของ อสม. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็น อสม. เชี่ยวชาญ (ไม่น้อยกว่า 48) 19,524 10,201 52.25 P

27 2.3.2 การบริหารจัดการเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ
การบริหารจัดการเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ การผ่านเกณฑ์ (215) การบริหารจัดการเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (215.1) ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ ใช้ SRM หรือเครื่องมืออื่นๆในการทำแผนพัฒนา (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25) 13 100 P (215.2) ร้อยละของตำบลที่มีการจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน 26

28 การเร่งดำเนินงานในตัวชี้วัดที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์
1. 2. 3. 4. 5.

29 ประเด็นหลักที่ 3 การบริหารจัดการ ระบบสุขภาพ

30 3.1.1 ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ การผ่านเกณฑ์ (301) ร้อยละของหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายมีปัญหาทางการเงินลดลง (ไม่น้อยกว่า 50) 1 100 P (302) ร้อยละของหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายมีข้อมูลต้นทุนของหน่วยบริการที่ครบถ้วน (ร้อยละ 50) (303) ร้อยละของหน่วยบริการมีฐานข้อมูลต้นทุนพื้นฐาน (มีและใช้โปรแกรมต้นทุนมาตรฐาน) (ร้อยละ 80) 11 (304) ร้อยละของหน่วยบริการที่มีและใช้แผน (3 แผน) ตามระบบการจัดการควบคุมภายใน (ร้อยละ 90)

31 3.1.2 การลดต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านยาและวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ การผ่านเกณฑ์ (305) ต้นทุนค่ายาและค่าวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์เฉลี่ยลดลง ร้อยละ 10 312,642,895 (ซื้อปี 55) 54,622,232 (มูลค่าลดลง) ลดลงร้อยละ 17.47 P (1) ต้นทุนค่ายาเฉลี่ยลดลง ร้อยละ 10 271,908,466 51,815,260 19.06 (2) ต้นทุนค่าวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์เฉลี่ยลดลง ร้อยละ 10 43,541,401 2,806,972 6.45 O

32 3.1.3 การเตรียมการจัดซื้อจัดจ้างและเร่งรัดการใช้จ่ายเงิน
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ การผ่านเกณฑ์ (306) ร้อยละของรายการจัดซื้อจัดจ้าง งบลงทุน สามารถลงนามในสัญญาจ้างได้ในไตรมาสที่ 2 (เท่ากับ 100) 11 100 P (307) ร้อยละของการเบิกจ่ายงบลงทุนในปีงบประมาณ พ.ศ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) 5,678,000 5,341,200 94.07 (308) ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม ในปีงบประมาณ พ.ศ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 94) 94,969,833 51,769,941 54.51 O

33 การเร่งดำเนินงานในตัวชี้วัดที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์
1. 2. 3. 4. 5.

34 ประเด็นหลักที่ 4 การตรวจราชการ แบบบูรณาการ

35 4.1.1 การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ การผ่านเกณฑ์ (401) ร้อยละของผู้เสพยาเสพติด รายใหม่ลดลง (50) ปี 55=1,724 เป้าไม่เกิน=862 690 ลดลง 59.97 P (402) ร้อยละผู้เสพยาเสพติดที่ผ่านการบำบัดที่ได้รับการติดตาม ไม่กลับไปเสพซ้ำ (80) 527 520 98.67

36 ภาพกิจกรรมดำเนินงาน ประเมิน CUP เยี่ยม/ติดตาม รพ.สต.
สร้างขวัญกำลังใจ อสม.

37 ภาพกิจกรรมดำเนินงาน ประเมิน CUP สร้างขวัญกำลังใจ อสม.
เยี่ยม/ติดตาม รพ.สต.

38 ภาพกิจกรรมดำเนินงาน ประเมิน CUP เยี่ยม/ติดตาม รพ.สต.
สร้างขวัญกำลังใจ อสม.

39 ภาพกิจกรรมดำเนินงาน สร้างขวัญกำลังใจ อสม.

40 ภาพกิจกรรมดำเนินงาน ประเมิน CUP มมส.

41 ภาพกิจกรรมดำเนินงาน

42 การเร่งดำเนินงานในนโยบายที่สำคัญเร่งด่วน

43 การเร่งดำเนินงานในนโยบายที่สำคัญเร่งด่วน

44 การเร่งดำเนินงานในนโยบายที่สำคัญเร่งด่วน

45 การเร่งดำเนินงานในนโยบายที่สำคัญเร่งด่วน

46 การเร่งดำเนินงานในนโยบายที่สำคัญเร่งด่วน

47 การเร่งดำเนินงานในนโยบายที่สำคัญเร่งด่วน

48 การเร่งดำเนินงานในนโยบายที่สำคัญเร่งด่วน

49 การเร่งดำเนินงานในนโยบายที่สำคัญเร่งด่วน

50 การเร่งดำเนินงานในนโยบายที่สำคัญเร่งด่วน

51 สรุปผลการดำเนินงานตัวชี้วัดของระบบตรวจราชการ
จังหวัดมหาสารคาม ลำดับ กลุ่ม ตัวชี้วัด รอบที่ 2 ผ่าน ร้อยละ ไม่ผ่าน ระหว่างดำเนินงาน 1 กลุ่มเด็กและสตรี 15 12 80.00 3 20.00 - 2 กลุ่มเด็กปฐมวัย 6 4 66.67 33.33 กลุ่มเด็กวัยรุ่นและวัยเรียน 16.67 กลุ่มวัยทำงาน 10 40.00 5 50.00 10.00 กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ ระบบบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข 7 ยาเสพติด 100.00 8 การมีส่วนร่วมของ ภาคประชาชน 9 สาธารณภัย/ฉุกเฉิน สิ่งแวดล้อมและระบบ ที่เอื้อต่อการดาเนินงาน สุขภาพ 75.00 25.00 11 ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ประสิทธิภาพการ บริหารจัดการ รวมทั้งสิ้น 66 44 19 28.79 4.55

52 สรุปผลการดำเนินงานตัวชี้วัดของระบบตรวจราชการ
จังหวัดมหาสารคาม ลำดับ กลุ่ม ตัวชี้วัด รอบที่ 1 รอบที่ 2 ผ่าน ไม่ผ่าน ระหว่างดำเนินงาน 1 กลุ่มเด็กและสตรี 15 3 2 9 12 กลุ่มเด็กปฐมวัย 6 4 กลุ่มเด็กวัยรุ่นและวัยเรียน กลุ่มวัยทำงาน 10 5 กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ ระบบบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข 7 ยาเสพติด 8 การมีส่วนร่วมของ ภาคประชาชน สาธารณภัย/ฉุกเฉิน สิ่งแวดล้อมและระบบ ที่เอื้อต่อการดาเนินงาน สุขภาพ 11 ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ประสิทธิภาพการ บริหารจัดการ รวมทั้งสิ้น 66 18 32 44 19

53 จำนวนการผ่านเกณฑ์ของตัวชี้วัดการตรวจราชการ รอบที่ 1 และ 2
จังหวัดมหาสารคาม จำนวน

54 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดการตรวจราชการ รอบที่ 2
จังหวัดมหาสารคาม ร้อยละ

55 ผู้บริหารสูงสุดที่มีผลต่อความสำเร็จการดำเนินงาน ปี 2556

56 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt ยินดีต้อนรับ นพ.พิศิษฐ์ ศรีประเสริฐ สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 7

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google