งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

มาตรการของจังหวัดหนองบัวลำภู

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "มาตรการของจังหวัดหนองบัวลำภู"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มาตรการของจังหวัดหนองบัวลำภู
1. มาตรการด้านระบาดวิทยา ระบุพื้นที่ยุทธศาสตร์ รุนแรง (ซ้ำซาก) ระยะปานกลาง (รายใหม่) เสี่ยงสูง (เคยระบาดปี 43) เสี่ยงปกติ (ไม่พบ Case) Spot map ไปหน้าต่อไปกด Page Down

2 2. มาตรการด้านสุขศึกษา เชิงรุกและลึกแบบ interactive คุ้มละ 10 ครัวเรือน 2 ทาง สปอตวิทยุ ป้ายประชาสัมพันธ์ 3. มาตรการสอบสวนและควบคุมโรค รายใหม่ แจ้งพื้นที่และควบคุมโรคภายใน 24 ชม. รายเก่า ทำทุกมาตรการ 4. มาตรการรายงานโรค สอ.ใช้อาการแสดง รพช./รพท. ทางด่วน case R/O Lepto รายงาน 506 Lab confirm ศูนย์วิทย์ ไปหน้าต่อไปกด Page Down

3 5. มาตรการห้องปฏิบัติการ. สอ. Urine albumin. รพช. /รพท. Latex 2 ครั้ง
5. มาตรการห้องปฏิบัติการ สอ. Urine albumin รพช./รพท. Latex 2 ครั้ง ส่ง Confirmed ศูนย์วิทย์ฯ อุดร เพื่อ ยืนยันการรายงาน มาตรการการรักษา กำหนดผู้รับผิดชอบทุกหน่วยงาน ทุกระดับ สอ.มี Doxy ในการรักษาเพื่อลดความรุนแรง จัดทำคู่มือการรักษาและมีแผ่นอาการแสดงติดโต๊ะตรวจ ในสถานีอนามัย ไปหน้าต่อไปกด Page Down

4 กลยุทธหลัก 3 ประการของกระทรวงสาธารณสุข
ก. พัฒนาการวินิจฉัยโรค เน้น การเจาะเลือด 2 ครั้ง ห่างกัน 10 วัน (Paired serum) การตรวจด้วย Latex ถ้า serum แรก ให้ผลบวก รายงาน 506 ถ้าให้ผลลบ ให้รอผล serum ที่ 2 ทุก Case ที่ส่งตรวจ Lab จะต้องวินิจฉัยเป็น R/O Lepto ไปหน้าต่อไปกด Page Down

5 ข. มาตรการควบคุมป้องกันโรคเลปโตสไปโรซิสระดับ สอ โดยดำเนินการให้ครบ 4 E 1. Eary detection เป็นการค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกโดย อสม./กสค. 2. Eary diagnosis การวินิจฉัยโรคได้เร็วโดย จนท.สอ. มีหลักเกณฑ์ ดังนี้ 2.1 ประวัติลุยน้ำ แช่น้ำ หรือสัมผัสแหล่งน้ำ ไข้สูงเฉียบพลัน (38-40 องศาเซนเซียส) ปวดศรีษะอย่างรุนแรง ปวดเจ็บกล้ามเนื้อที่น่อง ต้นขา หรือสะโพก ให้วินิจฉัย R/O Lepto และนำส่งโรงพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจ ไปหน้าต่อไปกด Page Down

6 3. Eary Treatment ให้ จนท. สอ. ดำเนินการดังนี้. 3
2.3,2.4 ให้รีบนำส่งโรงพยาบาลทันที ถ้ามีไข้สูงเฉียบพลันไม่เกิน 3 วัน ให้ Doxy (100) ครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้งหลังอาหาร ถ้าอาการไม่ดีขึ้นภายใน 2 วัน ให้รีบนำส่งโรงพยาบาล 4. Eary control การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่เสี่ยง โดย 4.1 ให้สุขศึกษากับประชาชนเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อม พฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค พฤติกรรมการป้องกันโรค เพิ่มมาตราการการเฝ้าระวังเชิงรุก (Active surveillance) ไปหน้าต่อไปกด Page Down

7 ค. ชุมชนร่วมมือควบคุมโรค
ค. ชุมชนร่วมมือควบคุมโรค ใช้หลักการสร้างพลัง (Empowerment) โดยมีกิจกรรมดังนี้ 1. การกำจัดหนูโดยภูมิปัญญาชาวบ้าน 2. การสร้างความรู้ความเข้าใจในโรค 3. การกำหนดพื้นที่เลี้ยงสัตว์ 4. กำหนดมาตรการเคลื่อนย้ายสัตว์ โดยเฉพาะสัตว์เศรษฐกิจ 5. การจัดตั้งกองทุนรองเท้า Lepto 6. การใช้รองเท้าป้องกันโรค 7. การกินอาหารสุกๆดิบๆ ไปหน้าต่อไปกด Page Down

8 อัตราป่วยโรค Leptospirosis ปี 2536-2544
จังหวัดหนองบัวลำภู เปรียบเทียบประเทศไทย , เขต 6 อัตราป่วย: 100,000 160 อัตราป่วยของประเทศ อัตราป่วยเขต 6 140 อัตราป่วย จ.นภ. 120 100 80 60 40 20 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 อัตราป่วยของประเทศ 0.17 0.17 0.24 0.6 3.84 3.62 9.28 21.86 1.79 อัตราป่วยเขต 6 0.27 0.06 0.29 0.87 9.29 14.61 26.07 51.05 4.58 อัตราป่วย จ.นภ. 25.6 14.59 33.12 138.63 14.75

9 อัตราป่วยโรค Leptospirosis ปี 2536-2544 จังหวัดหนองบัวลำภู
อัตราป่วย: 100,000 อัตราป่วยตาย(ร้อยละ) 160 6 อัตราป่วย จ.นภ. 140 5 อัตราป่วยตาย จ.นภ. 120 4 100 80 3 60 2 40 1 20 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 อัตราป่วย จ.นภ. 25.6 14.59 33.12 138.83 14.75 อัตราป่วยตาย จ.นภ. 5.46 2.7 1.19 0.14 4.11


ดาวน์โหลด ppt มาตรการของจังหวัดหนองบัวลำภู

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google